ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยสรุป แล้วก็ทำเป็นข้อๆให้หน่อยได้มั้ยคะ🙏🏻

dtac-T.Better Together 13:36 บทบัญญัติที่ 4 : คนตอบสนอ cdn.fbsbx.com 4 44%E เรียบร้อย สนองต่อสิ่งจูงใจ เนื่องจากคนตัดสินใจโดยเปรียบเทียบต้นทุนและผลประโยชน์ ดังนั้น พฤติกรรมของคนจึงเปลี่ยนเมื่อ โครงสร้างต้นทุนและผลประโยชน์เปลี่ยนไป นั่นคือ คนตอบสนองต่อสิ่งจูงใจ นั่นเอง เมื่อราคาแอปเปิลสูงขึ้น คนก็ตัดสินใจซื้อลูกแพร์มากขึ้น ซื้อแอปเปิลน้อยลง เพราะต้นทุนในการได้มาซึ่งแอปเปิลสูงขึ้น ใน ขณะเดียวกัน ชาวสวนแอปเปิลตัดสินใจจ้างคนงานมากขึ้น และปลูกแอปเปิลมากขึ้น เนื่องจาก ผลประโยชน์ จากการขายแอปเปิลสูงขึ้น บทบาทหลักของสิ่งจูงใจในการกำหนดพฤติกรรมมีความสำคัญสำหรับการออกแบบ นโยบายของรัฐ(Public Policy) นโยบายของรัฐมักเปลี่ยนแปลงโครงสร้างต้นทุนและผลประโยชน์ของกิจกรรม ภาคเอกชน เมื่อผู้กำหนดนโยบายล้มเหลวในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แสดงว่านโยบายรัฐอาจก่อให้เกิดผลที่ ไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้น ตัวอย่างของผลที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจจากนโยบายของรัฐ เช่น นโยบายว่าด้วยเข็มขัด นิรภัยและระบบป้องกันความปลอดภัยรถยนต์ ในทศวรรษ 1950 รถที่มีเข็มขัดนิรภัยมีจํานวนน้อย ต่างจากใน ปัจจุบันที่รถทุกคันล้วนมีเข็มขัดนิรภัย เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงก็เพราะ "นโยบายของรัฐ" นั่นเอง ในช่วง ปลายทศวรรษ 1960 หนังสือของ Ralph Nader ที่ชื่อ “Unsafe at Any Speed” ก่อให้เกิดกระแสเกี่ยวกับความ ปลอดภัยของรถยนต์ รัฐสภาสหรัฐอเมริกาออกกฎหมายบังคับให้ผู้ผลิตรถยนต์ต้องสร้างอุปกรณ์รักษาความ ส่ ปลอดภัย ซึ่งหมายถึงรถทุกคันต้องมีอุปกรณ์มาตรฐานอย่างเข็มขัดนิรภัยด้วย กฎหมายเข็มขัดนิรภัยกระทบ ความปลอดภัยของรถยนต์อย่างไร ? ผลทางตรงในเรื่องนี้ชัดเจนอยู่แล้ว ถ้ามีเข็มขัดนิรภัยในรถทุกคัน คนก็คาด เข็มขัดนิรภัยกันมากขึ้น และโอกาสที่จะรอดจากอุบัติเหตุรถยนต์ที่มีมากขึ้น ในแง่นี้ เข็มขัดนิรภัยช่วยรักษาชีวิต ผลดีทางตรงด้านความปลอดภัยนี้จูงใจให้รัฐสภาออกกฎหมายดังกล่าว แต่การทำความเข้าใจผลทั้งหมดของ กฎหมายต้องตระหนักว่า คนเปลี่ยนพฤติกรรมโดยตอบสนองสิ่งจูงใจที่เขาเผชิญอยู่ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องใน กรณีนี้คือการขับรถเร็วและความระมัดระวังในการขับรถ การขับรถช้าและระมัดระวังมีต้นทุนเพราะสิ้นเปลือง เวลาและพลังงาน เมื่อผู้ขับขี่ที่มีเหตุมีผลตัดสินใจว่าจะขับรถอย่างปลอดภัยเพียงใด ก็จะเปรียบเทียบ ผลประโยชน์ส่วนเพิ่มจากการขับรถอย่างปลอดภัยกับต้นทุนส่วนเพิ่ม เขาจะขับรถช้าและระมัดระวังเมื่อ ผลประโยชน์จากการเพิ่มความปลอดภัยสูงกว่า นี่เป็นการอธิบายว่าทำไมคนถึงขับรถช้าและระมัดระวังขณะ ถนนลื่นมากกว่าสภาพถนนปกติ หากเราพิจารณาว่าการออกกฎหมายให้คาดเข็มขัดนิรภัยเปลี่ยนแปลงการ คำนวณต้นทุนและผลประโยชน์ของผู้ขับขี่ที่มีเหตุมีผลอย่างไร ? พบว่าเข็มขัดนิรภัยทำให้ผู้ขับขี่รู้สึกว่าอุบัติเหตุ มีต้นทุนต่ำลงเพราะการคาดเข็มขัดนิรภัยช่วยลดความน่าจะเป็นในการบาดเจ็บและล้มตาย ดังนั้น เข็มขัดนิรภัย ลดผลประโยชน์จากการขับรถช้าและระมัดระวังลง ผู้ขับขี่ก็ตอบสนองต่อการใช้เข็มขัดนิรภัยโดยขับรถเร็วขึ้น และลดความระมัดระวังในการขับขี่ลง ผลสุดท้าย กฎหมายเข็มขัดนิรภัยทำให้จำนวนอุบัติเหตุเพิ่มสูงขึ้น 5 แล้วกฎหมายกระทบจำนวนคนตายจากการขับขี่อย่างไร ? ผู้ขับขี่ที่คาดเข็มขัดนิรภัยอาจมีโอกาสรอดชีวิตมาก ขึ้นจากอุบัติเหตุแต่ละครั้ง แต่โอกาสเกิดอุบัติเหตุอาจเพิ่มจำนวนมากครั้งขึ้น จำนวนคนตายสุทธิในประเด็นนี้ยัง ไม่ชัดเจน ยิ่งกว่านั้น การที่ผู้ขับขี่เลือกลดความระมัดระวังในการขับขี่ลงส่งผลกระทบทางลบต่อคนเดินถนน (และผู้ขับขี่ที่ไม่ได้คาดเข็มขัดนิรภัย) เพราะโอกาสเกิดอุบัติเหตุของคนเหล่านี้สูงขึ้นและไม่ได้รับการป้องกัน จากเป็นข้อมกัน ดังนั้น จอมมายว่าด้วยเข็มขัดนิรฉันมีแนวโน้มทำให้จำนวนการตายของคนเดินถนนเพิ่มสูงขึ้น 3

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
อาเซียนศึกษา มัธยมต้น

มนุษย์กับสังคมในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง #นครพนม

ประชากร กลุ่มชาติพันธุ์ และภาษาของชุมชนภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง จํานวนประชากรในพื้นที่ภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง ประเทศที่ผูกพัน พึ่งพาอิงอาศัยผลประโยชน์หรือได้รับผลกระทบสูงสุดจาก แม่น้ำโขงทั้งในด้านของพื้นที่ ปริมาณน้ำ และประชากร คือ ประเทศ สปป.ลาว รองลงมาคือ กัมพูชา ไทย เวียดนาม และมณฑลยูนนานประเทศจีน ส่วน ประเทศพม่ามีผลกระทบน้อยมาก จำนวนประชากรทั้ง 6 ประเทศรวมกัน ประมาณ 223.9 ล้านคน และจำนวนประชากรในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขงประมาณ 74.3ล้านคน ง กลุ่มชาติพันธุ์ และภาษาของชุมชนในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในประเทศพม่า ประเทศพม่ามีชนพื้นเมืองต่างเผ่าพันธุ์อาศัยอยู่มากกว่า67 กลุ่ม กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในทิเบต แม่น้ำโขงเริ่มต้นบนแนวเทือกเขาตั้งกลาซาน ที่ราบสูงทิเบต เรียกว่า แม่น้ำจาก เป็นแม่น้ำแห่งจิตวิญญาณบริสุทธิ์และศักดิ์สิทธิ์ ชาวทิเบตมีเชื้อ สายผสมกับจีน มองโกล พม่า และชนชาติอัสสัมในประเทศอินเดีย ภาษา ทิเบตเป็นตระกูลจีน-ทิเบต ชิโน-ทิเบตัน หรือ ทิเบโต ไชนีส นักมานุษยวิทยาได้จำแนกชาติพันธุ์มนุษย์ตามลักษณะทางกายภาพไว้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ 1.Caucasoid มีผิวกายสีขาว 2.Mongoloid มีผิวกายสีเหลือง 3.Negroid มีผิวกายสีดำ 4.Australoid ไม่ปรากฏเชื้อชาติเด่นชัด นอกจากนี้แต่ละกลุ่มยังแบ่งแยกออกไปอีกเป็นหลายกลุ่มย่อย แม่น้ำโขงอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป ไหลผ่าน 6 ประเทศ รวมทั้งทิเบตซึ่งเป็นเขตปกครองพิเศษของประเทศจีน จึงหลากหลายด้วยกลุ่มชาติพันธุ์และภาษา มีภาษาหลักและภาษาถิ่นมากถึง242ภาษา ชาวพม่าเป็นชนชาติ ตระกูลทิเบต-พม่า ชาวมอญ ไทใหญ่รัฐฉาน กะเหรี่ยง กะฉิ่น ระไคน์ และชิน นอกจากนี้ยังมีชาวอินเดีย และจีนอาศัยอยู่ จำนวนหนึ่ง กลุ่มชาติพันธุ์และภาษา ของชุมชนในประเทศกัมพูชา ประเทศกัมพูชามีประชากรกว่าสิบล้านคน เป็นชนเชื้อ ชาติเผ่าพันธุ์เขมรมากกว่า 90% ที่เหลือเป็นชนกลุ่ม น้อย ได้แก่ ชาวเวียดนาม ชาวมุสลิมเชื้อสายจาม ชาว จีนไทย ลาว และไทใหญ่ เขมรบนประกอบด้วยชาวเขา เผ่าต่างๆ ได้แก่ กุย พนอง เปรา ข่าตะพวน บางราย เป๊อร์ และเซาว์ กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในมณฑลยูนนานประเทศจีน กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในประเทศไทย ประเทศไทยคือกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาตระกูลไท ไต ประกอบไปด้วยชา เขา ชนเผ่า ชนกลุ่มน้อย และชาติพันธุ์อีกจำนวนมากอยู่กระจัดกระจายทั่วไป แบ่งตามตระกูลภาษาได้ดังนี้ 1.ตระกูลจีน-ทิเบต ได้แก่ ลีซู ลา อาข่า กระเหรี่ยง 2.ตระกูลออสโตร-เอเชียติกได้แก่ เขมร มอญ ว่า ละว้า ชาวบน ชาวสัก ซึมเร โซ่/ไส้ แสก สวย กุย กะเลิง กะลอง ฯลฯ 3.ตระกูลไท ไต ได้แก่ ไทยกลาง ไทโคราช ไทแฮ ไทเพิ่ง ไทพวน ไทยวน ไทลื้อ ชาน ไทใหญ่ ลาวเวียง ผู้ไท ไทญ้อ ฯลฯ 4.ตระกูลมัง-เช้า ได้แก่ จีน มังหรือแล้ว และเข้าหรือเงี่ยน 5.ตระกูลมาลาโย-โพลินิเชียน ได้แก่ มาลายู ชาวน้ำ โมแกน และชนเผ่าเงาะ ประชาชนจีนมีชนชาติต่างๆอาศัยอยู่ถึง65กลุ่ม มณฑลยูนนานอยู่ทางทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีนมีพื้นที่ประมาณ 495,000 ตารางกิโลเมตร ประมาณ 4% ของพื้นที่ทั้งประเทศ และใหญ่เป็นอันดับ 8 ของมณฑลใน ประเทศจีน ยูนนานในอดีตประกอบด้วยหลายเชื้อชาติ หลากเผ่าพันธุ์ต่อมา ทุกวันนี้ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อสายจีน (ฮั่น)และมีชนกลุ่มน้อย25กลุ่ม ได้แก่ 1.จ้วง 2.หุย 3.แล้ว 4 ทิเบต 5 เข้า 6.ไป 7.ว่า 8.นาซี 9.หลง 10.ลีซู 11.ปูลาง 12.ฮานี 13.3 14.ไต 15.วิ่งพอ 16.ลา 17.จินัว 18. 19.ปูยี 20.สุย 21.อาข่าง 22.แตง 23.ฟูมิ 24.มองโกล 25.แมนจู กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในประเทศเวียดนาม ประเทศเวียดนามเป็นกลุ่มชาติพันธุ์มองโกลอยดี ประกอบด้วย 5 ชนเผ่า หรือชนกลุ่มน้อย ชนเชื้อชาติก๋งษ์ หรือเวียด มีจำนวนมากที่สุดประมาณร้อยละ80 ของประชากรรวมทั้งประเทศ แบ่งออกได้ถึง 8กลุ่มตระกูลภาษา 1.ตระกูลเวียด-เมือง มี 4ชนเผ่า 2.ตระกูลไต-ไทย มี 8ชนเผ่า 3.ตระกูลมอญ-เขมร มี21หน เผ่า 4.ตระกูลมัง-เข้า มี 3 ชนเผ่า 5.ตระกูลกะได มีชนเผ่า 6.ตระกูลนามยาว มี 5ชนเผ่า 7.ตระกูลอื่น มีชนเผ่า 8.ตระกูลดัง มีชนเผ่า กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในประเทศลาว สปป.ลาว มีประชากรประมาณ5ล้านคน ประกอบด้วยหลายเชื้อชาติ หลากเผ่าพันธุ์ เรียกเป็นทางการว่า “ชนเผ่า การจัดแบ่งชน เผ่าใน สปป.ลาวนั้นมีความสลับซับซ้อนเปลี่ยนแปลงไปตามวัตถุประสงค์ทางการเมืองการปกครองแต่ละยุคสมัย ปัจจุบันมี 4 ชนเผ่า จัดแบ่งตามลักษณะภูมิประเทศได้เป็น 3กลุ่มใหญ่ คือ 1.ลาวลุ่ม ตั้งถิ่นฐานอยู่เขตที่ราบหุบเขาหรือที่ราบลุ่ม พูดภาษาตระกูลไท-ลาว 2.ลาวเทิง ตั้งถิ่นฐานอยู่บนลาดเขาหรือที่ราบสูง พูดภาษาตระกูลมอญ-เขมร 3.ลาวสูง ตั้งถิ่นฐานอยู่บนภูเขา หรือภูดอย พูดภาษา ตระกูลทิเบต พม่า และ ยังเข้า

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ขอ 2.1 นี้ทำไงหรอคะ

ด 3. กำหนดให้พืชชนิดนี้ต้นหนึ่งมีลักษณะดังนี้ ต้นเตี้ย ขอบใบหยัก ใบมีขน ก้านไม่มีหนาม ดอกสีแดงฝักแฟนฝักสีเขียว โดยแอลลีลบนโครโมโซมคู่ที่ 1 เป็นแอลลีลเด่นทั้งหมด และ บนโครโมโซมคู่ที่ 5 และ 7 เป็นเฮอเทอโรไซส 2.2 21 จงเขียนแผนภาพโครโมโซมทีแสดงตำาแหน่งแอลลีลควบคุมลักษณะของพืชที่กำหนด ต้นพืชที่กำหนดมีจีโนไทป์ควบคุม 7 ลักษณะนี้เป็นอย่างไร และจะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ ได้กี่แบบ อะไรบ้าง ถ้าในกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ไม่เกิดครอสชิงโอเวอร์ ชีววิทยา เล่ม 2 รุ่นที่ ลักษณะกลีบดอกของพืชชนิดหนึ่งมี 2 ซึ่งควบคุมโดยยีนบนออโตโซม 2 แบบ คือ ขอบกลีบดอกหยักและขอบกลีบดอกเรียบ จากการผสมพันธุ์ต้นที่มีขอบกลีบดอกหยักและต้นที่มี ขอบกลีบดอกเรียบในรุ่นที่ 1 จะได้เมล็ดซึ่งนำไปปลูกเป็นรุ่นที่ 2 นำต้นที่มีขอบกลีบดอกหยัก ในรุ่นที่ 2 ผสมกันเอง ได้เมล็ดซึ่งนำไปปลูกเป็นรุ่นที่ 3 ได้ผลดังตาราง 1 2 3 บทที่ 5 | การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม อย่างไร จำนวนต้น ขอบกลีบดอกหยัก ขอบกลีบดอกเรียบ 48 0 80 52 280 240 3.1 ลักษณะขอบกลีบดอกของพืชชนิดนี้แบบใดเป็นลักษณะเด่น และแบบใดเป็น ลักษณะด้อย 3.2 สามารถระบุจีโนไทป์ของแต่ละรุ่นได้อย่างแน่นอนหรือไม่ และระบุจีโนไทป์ได้ว่า 3.3 ถ้าต้องการผสมพันธุ์พืชชนิดนี้ให้ได้เมล็ดที่นำไปปลูกแล้วได้จำนวนต้นที่ จำนวนทั้งหมด 100 280 320 ในรุ่นใด ลักษณะอย่างไร ขอบกลีบดอกหยักและขอบกลีบดอกเรียบใกล้เคียงกัน ควรถ่ายเรณูระหว่างต้น

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยทีครับ

01:54 น. b < 70/555 4. การเกิดสนามแม่เหล็กจากกระแสไฟฟ้า 5. การเกิดแรงไฟฟ้าที่กระทำต่อเข็มของเข็มทิศ รหัสวิชา 05 วิทยาศาสตร์ วันอาทิตย์ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2565 19. คลื่นผิวน้ำเดินทางจากบริเวณ 1 ไปยังบริเวณ 11 โดยมีทิศการเคลื่อนที่ตามลูกศร ดังภาพ บริเวณ แชร์ สทศ ANIETS แก้ไข หน้า 16 สถาบันการการศึกษาแห่งชาติ การหา Naterial situte of Educational Testing Service Public translation) เวลา 11.30 - 13.30 น. นคลื่น รอยต่อ บริเวณ || ข้อใดถูกต้อง 1. น้ำในบริเวณเตื้นกว่าน้ำในบริเวณ II น้ำในบริเวณ 1 ลึกเท่ากับน้ำในบริเวณ II 2. 3. น้ำในบริเวณ 1 ลึกกว่าน้ำในบริเวณ II 4. ความยาวคลื่นผิวน้ำในบริเวณ 1 ยาวกว่าความยาวคลื่นผิวน้ำในบริเวณ II 5. ความถี่ของคลื่นผิวน้ำในบริเวณ ไม่เท่ากับความถี่ของคลื่นผิวน้ำในบริเวณ II 100% 13 ลบ 900 เพิ่มเติม ||

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยทีครับ

01:54 น. b < 70/555 4. การเกิดสนามแม่เหล็กจากกระแสไฟฟ้า 5. การเกิดแรงไฟฟ้าที่กระทำต่อเข็มของเข็มทิศ รหัสวิชา 05 วิทยาศาสตร์ วันอาทิตย์ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2565 19. คลื่นผิวน้ำเดินทางจากบริเวณ 1 ไปยังบริเวณ 11 โดยมีทิศการเคลื่อนที่ตามลูกศร ดังภาพ บริเวณ แชร์ สทศ ANIETS แก้ไข หน้า 16 สถาบันการการศึกษาแห่งชาติ การหา Naterial situte of Educational Testing Service Public translation) เวลา 11.30 - 13.30 น. นคลื่น รอยต่อ บริเวณ || ข้อใดถูกต้อง 1. น้ำในบริเวณเตื้นกว่าน้ำในบริเวณ II น้ำในบริเวณ 1 ลึกเท่ากับน้ำในบริเวณ II 2. 3. น้ำในบริเวณ 1 ลึกกว่าน้ำในบริเวณ II 4. ความยาวคลื่นผิวน้ำในบริเวณ 1 ยาวกว่าความยาวคลื่นผิวน้ำในบริเวณ II 5. ความถี่ของคลื่นผิวน้ำในบริเวณ ไม่เท่ากับความถี่ของคลื่นผิวน้ำในบริเวณ II 100% 13 ลบ 900 เพิ่มเติม ||

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0