ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ภาษาไทย มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ เราทำไม่เป็น

ตอนที่ 4 คำชี้แจง เติมคำลงในช่องว่างให้ถูกต้องเหมาะสมตามความหมายของประโยค ไว้ที่คําว่าดอก ครูทําเครื่องหมายดอก คำขวัญที่เหมาะสมจะได้รับรางวัล และ เหมาะสมที่จะเป็น เทศชนิดหนึ่ง ๒. คณะกรรมการ ข้างหน้า รายชื่อผู้เข้ารอบให้คณะกรรมการตัดสินใจอีกครั้ง เด็กคนนี้ดูท่าทางฉลาด Shuanu เรื่อง หลักทั่วไปเกี่ยวกับการเขียน m. ๕. นักการเมืองกำาลัง สวนสาธารณะ เรื่องนี้มีเนื้อหาการประดิษฐ์ เดินหาเสียงกับชาวบ้าน ซึ่งหมายถึง เครื่อง ว่าขโมยของในซุปเปอร์มาร์เกต ตำรวจจึงเรียกมา ๖. เขาถูก ข้อเท็จจริง ตอนที่ ๒ คำชี้แจง เปลี่ยนคำศัพท์ที่พิมพ์ตัวหนาในประโยคให้ถูกต้องเหมาะสม ๑. อาหารร้านนี้นอกจากจะมีรสชาดดีแล้ว ยังมีเมนูให้เลือกหลากหลาย ๒. เด็ก ๆ พวกนี้วิ่งซุกซนอีกแล้ว ดูเผอเรอไม่ได้เลย ๓. พ่อแม่เสียใจที่ลูกประพฤติตัวแหลกเหลว ตอนที่ ๓ พิจารณาประโยคต่อไปนี้ว่าใช้ภาษาระดับใด ๑. เขาไปเสียค่าปรับที่โรงพัก ๒. แม่น้ำปิงเป็นแม่น้ำสายสำคัญของภาคเหนือ การดื่มสุราทำให้สุขภาพเสื่อมโทรม e. ๔. ตำรวจจับคนร้ายวางระเบิดสถานที่ราชการ ๕. การขับมอเตอร์ไซค์ควรสวมหมวกกันน็อกทุกครั้ง ในวัน มาใช้ในโลกอนาคต ๔. สมชายไม่ได้ทําการบ้านมา พอครูบอกให้ส่งเก็บคะแนน เขาถึงกับเหงื่อตก ๕. เศษขยะลอยมาขัดขวางทางน้ำ ทำให้น้ำไหลไม่สะดวก ซึ่งเจิ่งนองกลายเป็นน้ำเน่า ทา

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
อาเซียนศึกษา มัธยมต้น

มนุษย์กับสังคมในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง #นครพนม

ประชากร กลุ่มชาติพันธุ์ และภาษาของชุมชนภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง จํานวนประชากรในพื้นที่ภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง ประเทศที่ผูกพัน พึ่งพาอิงอาศัยผลประโยชน์หรือได้รับผลกระทบสูงสุดจาก แม่น้ำโขงทั้งในด้านของพื้นที่ ปริมาณน้ำ และประชากร คือ ประเทศ สปป.ลาว รองลงมาคือ กัมพูชา ไทย เวียดนาม และมณฑลยูนนานประเทศจีน ส่วน ประเทศพม่ามีผลกระทบน้อยมาก จำนวนประชากรทั้ง 6 ประเทศรวมกัน ประมาณ 223.9 ล้านคน และจำนวนประชากรในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขงประมาณ 74.3ล้านคน ง กลุ่มชาติพันธุ์ และภาษาของชุมชนในภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในประเทศพม่า ประเทศพม่ามีชนพื้นเมืองต่างเผ่าพันธุ์อาศัยอยู่มากกว่า67 กลุ่ม กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในทิเบต แม่น้ำโขงเริ่มต้นบนแนวเทือกเขาตั้งกลาซาน ที่ราบสูงทิเบต เรียกว่า แม่น้ำจาก เป็นแม่น้ำแห่งจิตวิญญาณบริสุทธิ์และศักดิ์สิทธิ์ ชาวทิเบตมีเชื้อ สายผสมกับจีน มองโกล พม่า และชนชาติอัสสัมในประเทศอินเดีย ภาษา ทิเบตเป็นตระกูลจีน-ทิเบต ชิโน-ทิเบตัน หรือ ทิเบโต ไชนีส นักมานุษยวิทยาได้จำแนกชาติพันธุ์มนุษย์ตามลักษณะทางกายภาพไว้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ 1.Caucasoid มีผิวกายสีขาว 2.Mongoloid มีผิวกายสีเหลือง 3.Negroid มีผิวกายสีดำ 4.Australoid ไม่ปรากฏเชื้อชาติเด่นชัด นอกจากนี้แต่ละกลุ่มยังแบ่งแยกออกไปอีกเป็นหลายกลุ่มย่อย แม่น้ำโขงอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป ไหลผ่าน 6 ประเทศ รวมทั้งทิเบตซึ่งเป็นเขตปกครองพิเศษของประเทศจีน จึงหลากหลายด้วยกลุ่มชาติพันธุ์และภาษา มีภาษาหลักและภาษาถิ่นมากถึง242ภาษา ชาวพม่าเป็นชนชาติ ตระกูลทิเบต-พม่า ชาวมอญ ไทใหญ่รัฐฉาน กะเหรี่ยง กะฉิ่น ระไคน์ และชิน นอกจากนี้ยังมีชาวอินเดีย และจีนอาศัยอยู่ จำนวนหนึ่ง กลุ่มชาติพันธุ์และภาษา ของชุมชนในประเทศกัมพูชา ประเทศกัมพูชามีประชากรกว่าสิบล้านคน เป็นชนเชื้อ ชาติเผ่าพันธุ์เขมรมากกว่า 90% ที่เหลือเป็นชนกลุ่ม น้อย ได้แก่ ชาวเวียดนาม ชาวมุสลิมเชื้อสายจาม ชาว จีนไทย ลาว และไทใหญ่ เขมรบนประกอบด้วยชาวเขา เผ่าต่างๆ ได้แก่ กุย พนอง เปรา ข่าตะพวน บางราย เป๊อร์ และเซาว์ กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในมณฑลยูนนานประเทศจีน กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในประเทศไทย ประเทศไทยคือกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาตระกูลไท ไต ประกอบไปด้วยชา เขา ชนเผ่า ชนกลุ่มน้อย และชาติพันธุ์อีกจำนวนมากอยู่กระจัดกระจายทั่วไป แบ่งตามตระกูลภาษาได้ดังนี้ 1.ตระกูลจีน-ทิเบต ได้แก่ ลีซู ลา อาข่า กระเหรี่ยง 2.ตระกูลออสโตร-เอเชียติกได้แก่ เขมร มอญ ว่า ละว้า ชาวบน ชาวสัก ซึมเร โซ่/ไส้ แสก สวย กุย กะเลิง กะลอง ฯลฯ 3.ตระกูลไท ไต ได้แก่ ไทยกลาง ไทโคราช ไทแฮ ไทเพิ่ง ไทพวน ไทยวน ไทลื้อ ชาน ไทใหญ่ ลาวเวียง ผู้ไท ไทญ้อ ฯลฯ 4.ตระกูลมัง-เช้า ได้แก่ จีน มังหรือแล้ว และเข้าหรือเงี่ยน 5.ตระกูลมาลาโย-โพลินิเชียน ได้แก่ มาลายู ชาวน้ำ โมแกน และชนเผ่าเงาะ ประชาชนจีนมีชนชาติต่างๆอาศัยอยู่ถึง65กลุ่ม มณฑลยูนนานอยู่ทางทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีนมีพื้นที่ประมาณ 495,000 ตารางกิโลเมตร ประมาณ 4% ของพื้นที่ทั้งประเทศ และใหญ่เป็นอันดับ 8 ของมณฑลใน ประเทศจีน ยูนนานในอดีตประกอบด้วยหลายเชื้อชาติ หลากเผ่าพันธุ์ต่อมา ทุกวันนี้ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเชื้อสายจีน (ฮั่น)และมีชนกลุ่มน้อย25กลุ่ม ได้แก่ 1.จ้วง 2.หุย 3.แล้ว 4 ทิเบต 5 เข้า 6.ไป 7.ว่า 8.นาซี 9.หลง 10.ลีซู 11.ปูลาง 12.ฮานี 13.3 14.ไต 15.วิ่งพอ 16.ลา 17.จินัว 18. 19.ปูยี 20.สุย 21.อาข่าง 22.แตง 23.ฟูมิ 24.มองโกล 25.แมนจู กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในประเทศเวียดนาม ประเทศเวียดนามเป็นกลุ่มชาติพันธุ์มองโกลอยดี ประกอบด้วย 5 ชนเผ่า หรือชนกลุ่มน้อย ชนเชื้อชาติก๋งษ์ หรือเวียด มีจำนวนมากที่สุดประมาณร้อยละ80 ของประชากรรวมทั้งประเทศ แบ่งออกได้ถึง 8กลุ่มตระกูลภาษา 1.ตระกูลเวียด-เมือง มี 4ชนเผ่า 2.ตระกูลไต-ไทย มี 8ชนเผ่า 3.ตระกูลมอญ-เขมร มี21หน เผ่า 4.ตระกูลมัง-เข้า มี 3 ชนเผ่า 5.ตระกูลกะได มีชนเผ่า 6.ตระกูลนามยาว มี 5ชนเผ่า 7.ตระกูลอื่น มีชนเผ่า 8.ตระกูลดัง มีชนเผ่า กลุ่มชาติพันธุ์และภาษาของชุมชนในประเทศลาว สปป.ลาว มีประชากรประมาณ5ล้านคน ประกอบด้วยหลายเชื้อชาติ หลากเผ่าพันธุ์ เรียกเป็นทางการว่า “ชนเผ่า การจัดแบ่งชน เผ่าใน สปป.ลาวนั้นมีความสลับซับซ้อนเปลี่ยนแปลงไปตามวัตถุประสงค์ทางการเมืองการปกครองแต่ละยุคสมัย ปัจจุบันมี 4 ชนเผ่า จัดแบ่งตามลักษณะภูมิประเทศได้เป็น 3กลุ่มใหญ่ คือ 1.ลาวลุ่ม ตั้งถิ่นฐานอยู่เขตที่ราบหุบเขาหรือที่ราบลุ่ม พูดภาษาตระกูลไท-ลาว 2.ลาวเทิง ตั้งถิ่นฐานอยู่บนลาดเขาหรือที่ราบสูง พูดภาษาตระกูลมอญ-เขมร 3.ลาวสูง ตั้งถิ่นฐานอยู่บนภูเขา หรือภูดอย พูดภาษา ตระกูลทิเบต พม่า และ ยังเข้า

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สังคมศึกษา มัธยมปลาย

ช่วยข้อ9กับข้อ10หน่อยค่าา ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ

คำชี้แจง: นักเรียนเติมข้อความใน เรื่องบทบาทของสตรีไทย ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทร เป็นผู้นำสตรีไทยในประวัติศาสตร์ที่มีบทบาทด้านใด 2. สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 5 ทรงมีบทบาทด้านการเมืองการปกครอง คือ บทบาทของสตรีไทย 3. วีรกรรมของสมเด็จพระศรีสุริโยทัย เป็นผลดีต่อการเมืองการปกครองสมัยอยุธยา คือ 4. รัชกาลที่ 3 ท้าวสุรนารีเป็นแบบอย่างของวีรสตรีไทยในการรักษาบ้านเมืองอย่างไร 5. ผู้นำสตรีในประวัติศาสตร์สมัยอยุธยา มีบทบาท ทรงพระเยาว์ คือ.. 6. หญิงไทยที่มีฐานะดีในสมัยรัชกาลที่ 3 มีบทบาท ซึ่งเกี่ยวข้องกับความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของประเทศ คือ 7. ตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นหญิงไทยส่วนใหญ่ต้อง เพราะเหตุใด 8. การปฏิรูปสังคมสมัยรัชกาลที่ 5 ทำให้เกิดผลดีต่อเศรษฐกิจของประเทศและทำให้สตรีมีสิทธิความเป็นพลเมืองโดย สมบูรณ์ โดยวิธีการใด 9. ในสมัยใด 10.1 แผ่นดินแทนพระมหากษัตริย์ที่ยัง 10.2 10. บทบาทของสตรีของไทยในสมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 (อธิบายโดยสังเขป) สตรีไทยมีโอกาสได้รับการศึกษา โดยเฉพาะสตรีชั้นสูงและชั้นกลางทำให้

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สังคมศึกษา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะเราหาไม่ได้เลย😭😭😭😭ขอบคุณมากๆเลยค่ะคนที่ช่วยเรา

11 12 13 14 1 2 3 4 วิชา ส31102 หน้าที่พลเมือง หน้า 7 ใบงานที่ 2 เรื่อง การเมืองการปกครอง กิจกรรม 2.7 ให้นักเรียนหาว่าประเทศต่อไปนี้ ทั้งในอดีตและปัจจุบัน มีรูปแบบการปกครองแบบใด โดยใส่ ลงในช่องว่าง อดีตจักรวรรดิญี่ปุ่น อดีตรัก เกาหลีเหนือ เวียดนาม 10 คิวบา เครื่องหมาย ประเทศ 5 อดีตเยอรมนี 7 สาธารณรัฐประชาชนจีน 8 สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว 9 กัมพูชาประชาธิปไตย 6 สหภาพโซเวียต อดีตอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สมัยเฟอร์ดินานด์มาร์กอส ไทย สมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม อิตาลี สมัยมุโสลินี 15 ปากีสถาน ระบอบเผด็จการ อานาจนิยม ฟาสซิสต์-นาซี คอมมิวนิสต์ อธิบายเพิ่มเติม

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

งงค่ะหาเท่าไหร่ก็ไม่เจอ ขอด่วนๆเลยนะคะ ส่งวันพน.(25/05/65) หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ม.2

SUTASOL Pre-Test แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre - Test) ได้ คะแนน ชอ นามสกุล เลขที่ ชั้น คะแนนเต็ม 10 คะแนน ให้ระบายคำตอบที่ถูกต้องลงในวงกลมตัวเลือกให้เต็มวง (ห้ามระบายนอกวง) 1. ข้อใดเป็นวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบบการประเมินภายนอก (1) การวิเคราะห์เนื้อหาที่บันทึก 2) ข้อมูลที่บันทึกว่าเป็นกลางหรือไม่ 3) การนำเสนอข้อมูลมีการบิดเบือนหรือไม่ (4) ความน่าเชื่อถือของบุคคลผู้บันทึกเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 2. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดเป็นหลักฐานขั้นปฐมภูมิทั้งหมด 1 พงศาวดาร ศิลาจารึก (2) จดหมายเหตุ อัตชีวประวัติ 3) โบราณวัตถุ ตำราประวัติศาสตร์ (4) โบราณคดี วรรณคดี 3. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดไม่ใช่หลักฐานขั้นทุติยภูมิ วารสาร 2) กฎหมายตราสามดวง 3) หนังสือพิมพ์ (4) ภาษาศาสตร์ 4. ลักษณะของนักประวัติศาสตร์ที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร (1) มีการทดลองศึกษาเพียงครั้งเดียว (2) มีความละเอียดถี่ถ้วน ช่างสังเกต (3) ใช้สำนวนการบันทึกแบบโวหาร (4) ผลสรุปที่ได้จากการค้นคว้าถือว่าเป็นความจริงที่ใครโต้แย้งไม่ได้ 5. ข้อใดเป็นวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบบการประเมินภายใน (1) ประสบการณ์ของผู้เขียน (2) ประวัติและผลงานของผู้บันทึก (3) ความถูกต้องของข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิงชัดเจน 4) ความเป็นนักประวัติศาสตร์ที่มีขั้นตอนการบันทึกข้อมูลที่เป็นกลาง nomin

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
แผนการเรียน มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ

คะแนน แบบทดสอบความรู้ ก่อนเข้ารับการอบรม ร้อยละ โครงการปลุกจิตสำนึกและสร้างค่านิยมในการต่อต้านการทุจริต ประจำปี 2562 11 ข้อมูลเบื้องต้น ชื่อ - สกุล ตำแหน่ง สำนัก/กอง/ส่วน. อายุราชการ เปี แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการควบคุมป้องกันและปราบปรามการทุจริตในองค์กร 1. ปัจจุบัน ยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต อยู่ในระยะที่เท่าไร ก. ระยะที่ 1 ข. ระยะที่ 2 ศ. ระยะที่ 3 ง. ระยะที่ 4 2. ยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 กำหนดวิสัยทัศน์ ไว้อย่างไร ก. คุณธรรมนำไทย ข. เปิดเผย โปร่งใส ตรวจสอบได้ ศ. ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต ง. ปลุกฝังค่านิยม ไม่ทนต่อ การทุจริต 3. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ ป.ป.ช. ก. ดูแลเรื่อง การทุจริตของนักการเมืองและข้าราชการระดับสูง ข. มีอำนาจในการพิจารณาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบเจ้าหน้าที่ของรัฐ ศ. โดยใช้ระบบไต่สวนมีฐานะเป็นกรมตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ง. เป็นส่วนราชการที่เป็นหน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ 4. United Nations Convention against Corruption - UNCAC คืออะไร ก. สัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ข. อนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ศ. สัญญาประชาชาติ ว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ง. อนุสัญญา ประชาชาติ ว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต 5. Coruption Perceptions Index: CPI คืออะไร ก. ตัวชี้วัดการทุจริต ข. ดัชนีการรับรู้การทุจริต ศ. ระดับการทุจริต ง. ระดับความน่าเชื่อถือของหน่วยงานภาครัฐ โครงการปลุกจิตสำนึกและสร้างค่านิยมในการต่อต้านการทุจริต อบต.บ้านแก่ง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0