ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะฮือ🙏🏼💖

แนวนอน 5. โครงสร้างที่พบในเซลล์สัตว์ ประกอบด้วยไมโครทูบูลเป็นแกนของเซนโทรโซม 8. ถุงที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น สร้างมาจากกอลจิคอมเพล็กซ์ มีเอนไซม์สำหรับย่อยสลายสารภายในเซลล์ 10. สิ่งมีชีวิตที่ไม่มีเยื่อหุ้มล้อมรอบสารพันธุกรรมและไม่มีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 14. กระบวนการนำสารที่ไม่ละลายน้ำเข้าสู่เซลล์ โดยการยื่นส่วนของเยื่อหุ้มเซลล์ออกไปหุ้ม 16. โครงสร้างที่ประกอบด้วย DNA และโปรตีนเป็นเส้นที่ขดตัวหนาเห็นได้ชัดเจนในระยะแบ่งเซลล์ เมื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ 17. โครโมโซมที่มีลักษณะเหมือนกัน ขนาดเท่ากัน ตำแหน่งเซนโทรเมียร์ตรงกันและมียีนที่ควบคุม ลักษณะเดียวกันมีตำแหน่งตรงกัน เรียกว่า .. chromosome สส 19. การแบ่งนิวเคลียสของเซลล์ที่ทำให้ได้เซลล์ลูกมีจำนวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง 20. ออร์แกเนลล์ขนาดเล็กภายในเซลล์ ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์โปรตีน ๕ส่ 0 ๆ นฯ ข แนวตั้ง 1. ออร์แกเนลล์ที่พบในเซลล์พืชที่บรรจุคลอโรฟิลล์ซึ่งใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง 2. ส่วนของโครโมโซมเดิมและโครโมโซมใหม่ที่สร้างขึ้นจากการจำลอง DNA ในระยะอินเตอร์เฟส ยึดติดกันตรงตำแหน่งเซนโทรเมียร์ 3. การแบ่งนิวเคลียสของเซลล์ที่ทำให้ได้เซลล์ลูก 2 เซลล์มีจำนวนโครโมโซมเท่าเดิม 4. โครงสร้างของเซลล์ที่เป็นเส้นใยสปินเดิล 6. การเคลื่อนที่ของน้ำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายต่ำไปยังบริเวณที่มี ความเข้มข้นของสารละลายสูง 7. กระบวนการที่เวสิเคิลภายในเซลล์เคลื่อนที่ไปรวมกับเยื่อหุ้มเซลล์เพื่อหลั่งสารออกนอกเซลล์ 9. ออร์แกเนลล์ขนาดเล็กที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น ทำหน้าที่สร้างพลังงานให้แก่เซลล์ ภายในมี DNA 11. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ มีนิวเคลียสและมีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 12. บริเวณที่ sister chromatids แนบชิดกัน และเป็นบริเวณที่เกี่ยวข้องกับการยึดติดของเส้นใย สปินเดิลในระยะแบ่งเซลล์ 13. ส่วนประกอบของเซลล์ที่มีโครโมโซมอยู่ภายใน ทำหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ ภายในเซลล์ 15. ส่วนที่เป็นของเหลวภายในเซลล์ประกอบด้วยออร์แกเนลล์ต่าง ๆ การเคลื่อนที่ของตัวถูกละลายจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายสูงไปยังบริเวณที่มีความ เข้มข้นของสารละลายต่ำกว่า จัดทำโดย สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะะ🤍🤍🤍💗💗

าที่ลำ 2. พิธ 1. โฟลเอ็ม 4. คอมพาเนียนเซลล์ 3. ไซเล็ม เนื้อเยื่อลำเลียงของพืชในข้อใดทำหน้าที่ลำเลียงอาหาร 32. 1. โฟลเอ็ม 2. พิธ 3. ไซเล็ม 4. คอมพาเนียนเซลล์ 33. เซลล์ใดเมื่อเจริญเต็มที่จะมีนิวเคลียสเป็นองค์ประกอบ 1. เวสเซล 2. คอมพาเนียนเซลล์ 3. เทรคีด 4. ซีฟเซลล์ 34. ข้อใดระบุทิศทางการลำเลียงนำและธาตุอาหารและการลำเลียงอาหารได้ถูกต้อง ตามลำดับ 1. น้ำและอาหารจะถูกลำเลียงจากรากไปยังใบ 2. น้ำและอาหารจะถูกลำเลียงจากใบไปยังราก 3. น้ำจะลำเลียงจากรากไปยังใบ และอาหารจะลำเลียงจากใบไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช 4. น้ำจะลำเลียงจากใบไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช และอาหารจะลำเลียงจากรากไปยังใบ 35. ข้อใดมีส่วนช่วยให้พืชดูดซึมน้ำจากดินได้มากขึ้น 1. ธาตุอาหารในดิน 2. จำนวนใบของพืช 3. ขนาดอนุภาคของดิน 4. ความสูงของลำต้น 36. ข้อใดไม่ใช่การเจริญเติบโตของพืช 1. การงอกของเมล็ด 2. การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 3. การขยายขนาดของลำต้น 4. เนื้อเยื่อพืชเจริญเป็นเซลล์ขนราก นี้ 37. หากต้องการปรับปรุงโครงสร้างของดินควรใช้ปุ๋ยชนิดใด 1. ปุ๋ยเคมี 3. ปุ๋ยเคมีสังเคราะห์ 2. ปุ๋ยคอก 4. ปุ๋ยผสม 38. ข้อใดเป็นธาตุอาหารหลักที่พืชต้องการทั้งหมด 1. K P N 2. Ca Mg S 3. S N P 4. S K N 39. ข้อใดเป็นธาตุอาหารรองที่พืชต้องการทั้งหมด 1. K P N 2. Ca Mg S 3. S N P 4. S K N แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 71

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยทำหน่อยนะคะ🤍💛

แบบทดสอบท้ายเล่ม เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว 4 สถานการณ์ใดต่อไปนี้ทำให้เกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี 1. น้ำมันแยกตัวกับน้ำ 2. ท่อเหล็กระบายน้ำฝน 3. ภูเขาน้ำแข็งลอยในน้ำทะเล 4. ก้อนลูกเหม็นมีขนาดเล็กลง 2. ข้อใดคือสมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมีของน้ำส้ม ตามลำดับ 1. นำไฟฟ้า นำความร้อน 2. นำไฟฟ้า มีฤทธิ์เป็นกรด 3. ของเหลว มีรสเปรี้ยว 4. ของเหลว ติดไฟง่าย 3. ข้อใดเป็นการจัดเรียงอนุภาคของแก๊ส 1. อนุภาคอยู่ห่างกัน 3. อนุภาคอยู่ติดกัน 2. อนุภาคอยู่ชิดกัน 4. อนุภาคอยู่ใกล้กัน ปรากฏการณ์ทินดอลล์ใช้แยกสารผสมในข้อใดออกจากกันได้ 1. น้ำคลอง และน้ำแป้ง 3. น้ำเกลือ และน้ำเชื่อม 5. อนุภาคของน้ำแป้งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่าไร 1. 10-10 เซนติเมตร 2. น้ำปลา และน้ำตาล 4. น้ำเกลือ และน้ำนม 2. มากกว่า 10 เซนติเมตร ห์ 3. มากกว่า 10 เซนติเมตร 4. น้อยกว่า 10 เซนติเมตร 6. ขณะที่มวลก้อนน้ำแข็งกำลังละลายมีสิ่งใดที่เปลี่ยนแปลง 1. มวลโมเลกุล 3. น้ำหนักโมเลกุล 2. ขนาดโมเลกุล 4. การเคลื่อนที่ของโมเลกุล 7. ข้อใดไม่ใช่ผลของความร้อนที่ส่งผลต่อสถานะของสาร 2. การแข็งตัว 1. การละลาย 4. การระเหย 3. การระเหิด ข้อใดมีอุณหภูมิเดียวกับจุดเดือดของน้ำ 1. เมฆกลั่นตัวเป็นฝน 8. 2. ลูกเห็บที่ตกจากฟ้า 4. หิมะละลายกลายเป็นธารน้ำ 3. น้ำระเหยกลายเป็นเมฆ แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

สอบถามผู้รู้ค่ะ ช่วยเราหน่อยค่ะ

ใบงาน เรื่อง ปฏิกิริยาแสง ตอนที่ 1 การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร คำชี้แจง : พิจารณาภาพ แล้วนำตัวอักษรไปเติมลงในช่องว่างหน้าข้อความที่กำหนดให้ Photosynterm Photosyatem 1 F Eectron trาsport G A D B 1. HyO 2. Proo 3. Hydrolysis 4. ADP + P, 3 ATP 5. Pe60 6. NADP" + H" 3 NADPH 7. Ferredoxin ตอนที่ 2 การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักร คำชี้แจง : พิจารณาภาพและนำตัวอักษรหน้าข้อความที่กำหนดให้ไปเติมลงในกล่องให้ถูกต้อง ก. อิเล็กตรอนถูกส่งต่อไปยัง ไซโทโครมคอมเพล็กซ์ ข. อิเล็กตรอนถูกส่งกลับมายังระบบ Photosyste แสง 1 Electron transport ค. เกิดการสังเคราะห์พลังงานงาน ATP และ NADPH ง. แสงกระตุ้นระบบแสง เกิดการ ถ่ายทอดอิเล็กตรอนไปยังเฟอริ ดอกซิน จ. เกิดการสังเคราะห์พลังงานเพียง ATP เท่านั้น บ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

บอกคำตอบหน่อยค่ะ

คอนที่ 1 : ให้นักเรียนนำตัวอักษร ก -ต มาเติมในช่องว่าง ให้มีความสัมพันธ์กัน .1. ไมโตคอนเดรีย ก. เป็นส่วนที่มีไรโบโชมมาเกาะอยู่ 2. คลอโรพลาสต์ ข. ส่วนที่ยื่นเข้าไปเรียกว่า ครีวตี ของเหลว เรียกว่า เมทริกซ์ 3. ไรโบโชม ค. เกี่ยวข้องกับกระบวนการการสังเคราะห์ด้วยแสง .4. ไลโซโซม ง. มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น เรียก ว่า ฟอสโฟลิพิคไบเลเยอร์ ..5. กอลจิคอมเพล็ก จ. เป็นบริเวณที่ยืดเส้นใยสปินเดิล ช่วยในการ .6. เยื่อหุ้มเชลล์ เคลื่อนที่ของโครโมโชม 7. แวคิลโอล น. สังเคราะห์โปรตื่น ประกอบด้วยหน่วยย่อย 2 .8. เอ็นโดพลาสมิกเรติคิวลัม ชนิดขรุขระ หน่วย คือ หน่วยเล็กและหน่วยใหญ่ .9. เซนทริโอล ร. สร้างไลโซโชม 10. เอ็นโดพลาสมิกเรติคิวลัมชนิดเรียบ ย. ย่อยสลายและทำลายสิ่งแปลกปลอมต่างๆ 11. ผนังเซลล์ บ. สังเคราะห์ ลิพิด -12. นิวเคลียส ต. รักษาดุลยภาพของน้ำ ต. ควบคุมการแบ่งเซลล์

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

1. หากสมมติพื้นที่ของใบไม้ 3 ตารางเมตร มีแสงมาตกกระทบ 3 umol ภายใน 3 วินาที บริเวณนี้จะได้รับแสงที่มีความเข้มแสงเท่าใด (ในหน่วย umol m s) จงแสดงวิธีการคำนวณ 2. จงเติมคำในข้อความต่อไปนี้ พืช C4 เช่น - (เขียนชื่อพืช 1 ชนิด) จะมีคลอโรพลาสต์ในชั้น Bundle sheath ทำให้มี ความสามารถในการตรึง CO, ได้ดีกว่า C, ประมาณ 3 เท่า เกิดการตรึง C0, จากอากาศในชั้น และมีการตรึง CO, ต่อในชั้น สารตัวแรกที่เกิดขึ้นหลังการตรึง CO, ครั้งแรก คือ (มี C 4 อะตอม) 3. จงเติมคำลงในช่องว่างของตารางการเปรียบเทียบการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C, พืช C4 และพืช CAM ข้อเปรียบเทียบ พืช C, พืช Ca พืช CAM 3.1 เอนไซม์ที่ใช้ในการตรึง คาร์บอนครั้งแรก 3.2 สารเสถียรชนิดแรกที่ได้ จากการตรึงคาร์บอน 3.3 ช่วงเวลาการเปิดปากใบ เพื่อนำ CO, เข้า (เดิมคำว่า กลางวันหรือกลางคืน) 3.4 สารประกอบคาร์บอนที่ เป็นผลิตภัณฑ์จากการ สังเคราะห์ด้วยแสง ที่จะ นำไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ของพืช

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยทำหน่อยนะคั้บบ

ตอนที่ 6 เขียนเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเขียน เครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง .1. การเจริญเติบโตของพืชเป็นผลมาจากการแบ่งเซลล์ การ เปลี่ยนแปลงรูปร่างของ ขยายขนาดของเซลล์ และการ เซลล์ .2. พืชทุกชนิดต้องการแสงปริมาณเท่ากัน เพื่อใช้ใน กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง .3. ธาตุอาหารที่เป็นองค์ประกอบหลักของโครงสร้างของพืช ออกซิเจน และ ประกอบด้วยคาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ..4. แมกนีเซียม กำมะถัน และเหล็ก เป็นธาตุที่เกี่ยวข้องกับการ สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช .5. ฮอร์โมนพืชเป็นสารอินทรีย์ที่พืชสร้างขึ้น เพื่อไปควบคุม การเจริญเติบโตของพืช ...6. ฮูอร์โมนไซโตไคนินมีบทบาทควบคุมการปิดปากใบใน ช่วงที่พืชขาดน้ำ ..7. เอทิลีนถูกสร้างจากผลไม้ช่วงที่เป็นผลอ่อน เพื่อเร่งการ เจริญและการสุกของผลไม้ .8. ออกซินถูกสร้างบริเวณเนื้อเยื่อเจริญปลายยอด มีผลยับยั้ง การเจริญของตาข้าง .9. มนุษย์สามารถสังเคราะห์สารที่มีฤทธิ์คล้ายฮอร์โมนพืช ย์บยัง กลุ่มออกซินและไซโตไคนิน 10. กรดแนฟทาลีนแอซีติกเป็นสารกลุ่มไซโตไคนินสังเคราะห์ ถูกนำมาใช้ป้องกันการร่วงของ มะเขือเทศ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะฮื่อออ

18 แบบฝึกหัดท้ายบท 1. ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูกต้อง และใส่เครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง .1.การสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นกระบวนการที่สามารถนำพลังงานแสงมาเปลี่ยนเป็นพลังงานเคมีเพื่อใช้ ในการดำรงชีวิตของพืช .2.พืชต้องการน้ำ ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และแสงเพื่อใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่ง เกิดขึ้นในคลอโรพลาสต์ .3.พืชลำเลียงน้ำและธาตุอาหารผ่านโฟลเอ็ม เพื่อใช้ในกระบวนการต่างๆ รวมทั้งกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง จากนั้นจะลำเลียงน้ำตาลที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงผ่านไซเล็มเพื่อไปใช้ที่ ส่วนต่างๆของพืช .4.น้ำตาลที่พืชสร้างขึ้นบางส่วนจะนำไปสังเคราะห์เป็นสารอินทรีย์หลายชนิด เช่น คาร์บอนไฮเดรต โปรตีน ไขมัน .5. พืชต้องการและแสงในการดำรงชีวิต นอกจากนี้ยัต้องการธาตุอาหารชนิดต่างๆในปริมาณที่ ใกล้เคียงกัน เพื่อให้เจริญเติบโตได้อย่างสมบูรณ์ 2. จงเขียนสมการการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 3. สารอินทรีย์ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชโดยตรง และสารอินทรีย์ที่ไม่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของ พืชโดย มีความสำคัญต่อพืชอย่างไร และตัวอย่างของสารอินทรีย์ในแต่ละกลุ่มมีอะไรบ้าง 4. การปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดนโปนิกส์ เป็นการปลูกพืชที่ไม่ใช้ดิน นักเรียนคิดว่าการปลูกพืชด้วยวิธีนี้ต้องมีการ ควบคุมปัจจัยภายนอกใดบ้างเพื่อให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างเหมาะสม 5. จงระบุชนิดของฮอร์โมนให้สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ที่มีต่อพืชต่อไปนี้ Hormone พืชกลุ่มใดที่ช่วยในการเจริญเติบโต... Hormone พืชกลุ่มใดที่เร่งการเสื่อมของพืช เป็นฮอร์โมนแห่งความแก่ชรา.. Hormone พืชกลุ่มใดนิยมนำมาใช้ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ Hormone พืชกลุ่มใดชะลอการหลุดร่วงของใบ. Hormone พืชกลุ่มใดกระตุ้นการหลุดร่วงของใบ. Hormone พืชกลุ่มใดกระตุ้นการงอกของเมล็ดพักตัว,

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยแก้หน่อยครับคุณครูให้ส่งแล้วครับ🥺🥺🥺

เซลล์พืชยังมีคลอโรพลาสต์ เพื่อใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง แต่เซลล์สัตว์ไม่มีหน่วยที่ ศึกษารายละเอียดของส่วนประกอบของเซลล์ แล้วตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ส่วนประกอบใดที่ยอมให้สารโมเลกุลเล็กผ่าน แต่ไม่ยอมให้สารโมเลกุลใหญ่ผ่าน เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์ 2. ส่วนประกอบใดมีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน 3. เปลือกกุ้งหรือกระดองปู เปรียบเสมือนสิ่งใดของเซลล์พืช 4. เซลล์ที่ต้องใช้พลังงานมาก ควรมีส่วนประกอบชนิดใดมากเป็นพิเศษ 5. จงสรุปรายละเอียดเกี่ยวกับเซลล์ของพืชและสัตว์ในรูปของผังมโนทัศน์ เซลล์ชนิดเดียวกันมา อมตัวกันเป็นกลุ่มเซลล์ เพื่อ กหน้าที่เฉพาะอย่าง เรียกว่า น้อเยื่อ (tissue) ตัวอย่าง เอเยื่อ เช่น เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ ตอเยื่อประสาท ผังมโนทัศน์เกี่ยวกับส่วนประกอบของเซลล์พืช กลุ่มเนื้อเยื่อหลาย ๆ ๆ ดวอย่างอวัยวะ เช่น ปาก หลอ ผังมโนทัศน์เกี่ยวกับส่วนประกอบของเซลล์สัตว์ ปาก อวัยวะหลาย ๆ ชนิด ระบบหายใจ ระบบย่อยอา สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดทั้งพืชและสัตว์ ประกอบด้วยหน่วยที่เล็กที่สุด คือ เซลล์ แต่รายละเอีย แตกต่างกัน เช่น เซลล์พืชมีผนังเซลล์ เพื่อให้ความแข็งแรง แต่เซลล์สัตว์ไม่มีผนังเซลล์ คลอโรพลาสต์ นอกจากหน่วยย่อย ๆ ภายในเซลล์แล้ว สิ่งที่แตกต่างกันสำหรับเซลล์พืชแ ก็คือ ลักษณะและรูปร่างของเซลล์ทั้งสอง เซลล์ส่วนใหญ่ของพืชมีลักษณะคงรูปและมีรูปก ในขณะที่เซลล์ส่วนใหญ่ของสัตว์มีลักษณะไม่คงรูปและมีรูปข่า และยังมีอีกหลาย

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0