ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องทำเป็นแผนผังอย่างไรคะ

ใบงานการทดลองที่ 6 กรณีศึกษาทางสรีรวิทยาคลินิก เรื่อง Circulating shock วัตถุประสงค์ 1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาการไหลเวียนเลือดในภาวะ Circulating shock ได้ 2. ระบุหลักการและแนวทางในการช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีภาวะ Circulating shock บนพื้นฐานสรีรวิทยา การไหลเวียนเลือด และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและพื้นฐานทางการพยาบาลได้ 3. สามารถสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายวิเคราะห์และเลือกใช้ข้อมูลในการอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและเขียนผังการเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาการไหลเวียนเลือดในภาวะ Circulating shock ได้ 4. ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการอธิบายและเขียนผังการเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนเลือดในภาวะ Circulating shock ได้ กรณีศึกษา ผู้ป่วยชายอายุ 31 ปี ถูกนำส่งโรงพยาบาลโดยอาสาสมัครกู้ภัย เนื่องจากประสบอุบัติเหตุขับมอเตอร์ไซด์ ชนกับรถบรรทุก มีแผลฉีกขาดขนาดใหญ่ที่ต้นขาขวา กระดูกหักทะลุออกมาภายนอก มีเลือดออกมากแบบ Active bleeding เสียเลือดออกไปประมาณ 30% ของปริมาตรเลือดทั้งหมด และมีภาวะ Circulating shock สัญญาณชีพ T 35.5'C P 120/นาที RR 22/นาที BP 80/60 mmHg หายใจตื้น และกระสับกระส่าย ซีด เหงื่อออก ผิวหนังขึ้นแต่เย็น และปัสสาวะออกน้อย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่าที่ตรวจพบ ค่าปกติ รายการ pH 7.25 7.35-7.45 Pco2 45 40 mm Hg Po2 88 90 - 100 mm Hg O, saturation 92 94 - 100 % Hct 35 40-45% แนวทางการศึกษา 1. ให้ผู้เรียนร่วมกันทบทวนบทบาทหน้าที่และกลไกการควบคุมการทำงานของระบบไหลเวียนใน ภาวะปกติ 2. อ่านกรณีศึกษาที่กำหนด จากนั้นนักศึกษาระบุ Hemodynamic parameter ที่ มีการ เปลี่ยนแปลงไปจากภาวะปกติหรือไม่ อย่างไร ตลอดจนค้นหาประเด็นที่เป็นสาเหตุที่ทำให้ Hemodynamic parameter เหล่านั้นเปลี่ยนแปลง 3. ระบุและอธิบายกลไกการควบคุมการทำงานของระบบไหลเวียนโลหิตที่เกี่ยวข้อง เพื่อตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนแปลง Hemodynamic parameter เหล่านั้นให้กลับคืนมาสู่ภาวะปกติ/หรือหากไม่ สามารถกลับคืนมาสู่ภาวะปกติได้ ตลอดจนการทำงานของระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) 4. เขียนผังแสดงลำดับของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว (Sequence of physiological events)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค่ะ🥺🙏🏻🙏🏻🙏🏻🙏🏻

Balanced Scorecard (BSC) มีประโยชน์ 1 point อย่างไร วัดผลการทำงานขององค์กรในภาพรวม (Overview) วัดผลการทำงานของแต่ละแผนก (Department performance) วัดผลงานทำงานเฉพาะบุคคล (Individual Performance) ไม่มีประโยชน์ ข้อเสียของ การประเมินโดยใช้ KPI และ 1point Balanced Scorecard คืออะไร ไม่สามารถวัดนามธรรมได้ด้วยตัวเลขเพียงอย่าง เดียว การสร้างแบบประเมินมีความยุ่งยากซับซ้อนกว่า วิธีอื่น O ไม่สามารถกำหนดเป้าหมายขององค์กรได้ การวัดมีความคลาดเคลื่อนสูงจากอคติของผู้ ประเมิน สิ่งใดที่สามารถวัดได้ด้วยตัวเลขแบบ KPI 1 point และ Balanced Scorecard O ความเป็นผู้นำ dividual O ผลกำไร 0 ความพึงพอใจระหว่างการรอคอย O คุณภาพการให้บริการ สิ่งใดที่ควรแก้ไข ในการเขียนอีเมลล์ * 1 point 18:19 (22 ชั่วโมงที่ผ่านมา) ถึง Hr ๆ เรียน ฝ่ายบุคคล บริษัท เอบีซี จำกัด เรื่อง ขอสมัครงานตำแหน่ง พนักงานฝ่ายการตลาด ดิฉัน นางสาว ณัชชา ใจดี จาก มหาวิทยาลัย รามคำแหง คณะ บริหารธุรกิจ ได้ทราบ ข่าวลงประกาศงานจากเว็บไซต์ของบริษัท เอบีซี จำกัด ว่าต้องการรับสมัครพนักงานฝ่ายการตลาด 1 ตำแหน่ง ดิฉันมีความสนใจขอสมัครงานเข้ารับการพิจารณาบรรจุในตำแหน่งดังกล่าว ข้อใดทำให้"การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์" 1 point ไม่ได้ผลลัพธ์ตามที่คาดหวัง ดิฉันได้ส่งรายละเอียดส่วนตัว ตลอดจนประวัติการศึกษามาพร้อมกับจดหมายฉบับนี้ แล้ว ดิฉันได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมของทางคณะและทางมหาวิทยาลัยอย่างสม่ำเสมอ จึงทำให้ มั่นใจว่าจะปฏิบัติงานของท่านได้เป็นอย่างดี ดิฉันพร้อมที่จะให้ท่านสัมภาษณ์รายละเอียดต่างๆ เพิ่มเติม และหวังว่าคงจะได้รับ ความกรุณาจากท่าน ท่านสามารถติดต่อกลับมาทางอีเมล์นี้ หรือโทร 091-1234567 พนักงานรู้อยู่แล้วว่าตนเองต้องได้ขึ้นตำแหน่ง ต่อ ให้สอบไม่ผ่านก็ตาม ขอขอบคุณค่ะ พนักงานไม่สามารถนำความรู้มาแก้ปัญหาได้ทันที ผู้ชื่อรับ และการเว้นวรรค หัวหน้างานสนับสนุนและให้ท้ายพนักงาน ชื่อผู้ส่ง และชื่อผู้รับ พนักงานไม่ได้รับเงินเดือนเพิ่มขึ้นหลังการอบรม เอกสารแนบ และชื่อผู้รับ ชื่อผู้ส่ง และการเว้นวรรค

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0