ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยด้วยครับ งงมากกเลยเรียนไม่กี่ครั้งสอบแล้ว

กังหัน-เครื่องกำเนิดไฟฟ้า เพราะเหตุใด 2-25 มีการปั้มน้ำจากทะเลสาบไปเก็บในถังเก็บที่ความสูง 20 m ด้วยอัตราการไหล 70 L/s โดยมีการใช้กำลัง ไฟฟ้า 20.4 kW ดังแสดงในรูป ถ้าไม่คิดผลของความเสียดทานและการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์ จงคำนวณหา (ก) ประสิทธิภาพรวม (Overall efficiency) ของชุดปั๊ม-มอเตอร์ (ข) ความดันแตกต่าง ระหว่างทางเข้าและทางออกของปั๊ม (ตอบ (ก) 67.2 % (ข) 196 kPa) 20 m Pump รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 2-25 2-26 น้ำไหลจากระดับความสูง 120 m ด้วยอัตรา 100 m/s เข้าสู่กังหันเพื่อใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ดัง แสดงในรูป ถ้าประสิทธิภาพรวมของชุดกังหัน เครื่องกำเนิดไฟฟ้าเป็น 80% จงคำนวณหากำลังไฟฟ้าของ โรงไฟฟ้าแห่งนี้ กำหนดให้ไม่ต้องพิจารณาผลเนื่องจากแรงเสียดทานในท่อ (ตอบ 94.2 MW) 100 m³/s Generator Turbine turbine-gen = 80% Storage tank 120 m รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 2-26 เปลี่ ใช้เงิ pro 82 .

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 3
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

คำนวนพิกัดของหม้อแปลง cascade ยังไงหรอครับ อย่าง 400 kva 400 kv 3 ตัว

ขั้นบันไดก็คือ ขดลวดสร้างเส้นฟลักซ์แม่เหล็กของหม้อแปลงตัวแรก จะต้องจ่ายกระแสให้กับหม้อ แปลงตัวต่อไปด้วย ฉะนั้นถ้ามีการต่อขั้นบันไดหลายๆ ขั้น หม้อแปลงตัวแรกก็จำเป็นต้องมีกำลังใหญ่ กว่าตัวที่มาต่อเพิ่มขึ้นต่อไป ถ้าใช้หม้อแปลงที่มีกำลังเท่ากันมาต่อขั้นบันได กำลังไฟฟ้าจ่ายออกที่ แรงดันสูง าหนดจะน้อยกว่าผลรวมกำลังของแต่ละตัว นั่นคือหม้อแปลงสามารถจ่ายกระแสได้น้อย กว่าที่กำหนด เช่น หม้อแปลงทดสอบ 400 kV 400kVA 1A 3 ตัวมาต่อขั้นบันได จะได้แรงดันรวมที่ กำหนด 1200 KV แต่จะเหลือกำลังเพียง 900 KVA และกระแส 0.75 A เป็นต้น 1 : ขดลวดแรงต่ำ หรือขดลวดสร้างฟลักซ์ aiman (low voltage or exciting) 2 : ขดลวดแรงสูง (high voltage winding) 3 : ขดลวดคาบเกี่ยว (coupling winding) รูปที่ 2-10 ขดลวดหม้อแปลงสำหรับต่อขั้นบันได การฉนวนหม้อแปลงเมื่อต่อแบบขั้นบันได 3 ขั้น ตามรูปที่ 2-11 จะเห็นได้ว่าหม้อแปลงตัวที่ 2 ซึ่งได้รับแรงดันสร้างเส้นฟลักซ์แม่เหล็กผ่านทางขดลวดต่อคาบเกี่ยวนั้น มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับแรงสูงของ ตัวแรก ฉะนั้นหม้อแปลงตัวที่ 2 นี้ จะต้องได้รับการฉนวน หรือตั้งอยู่บนฉนวนรองรับเท่ากับแรงดัน สูงของตัวแรก ดังในรูป 2-11 200 KVA 0000 400 KVA 3P +1. leee Hil leee 2P 300KVA U 2P ele leee reeeee P III มวน =U 2U 2 leee ถัง S.V 41 นวม - 2U รูปที่ 2-11 ไดอะแกรมการต่อหม้อแปลงทดสอบแบบขั้นบันได 3U กล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอทำได้มั้ยครับ

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 1-1 กำหนดให้โคมไฟมีน้ำหนัก 220 N ถูกแขวนโดยเส้นลวด 3 เส้น ซึ่งเชื่อมต่อกันโดยใช้แหวนที่จุด A ดังที่แสดงในรูป ที่ Prob. 1-1 จงหาค่ามุม 6 ที่ทำให้หน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ย (average normal stress) ในเส้นลวด AC เป็นสองเท่าของ หน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยในเส้นลวด AD และจงหาค่าหน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในเส้นลวดทั้งสอง 6.3 mm 1.20 m 0.90 m P V A รูปที่ Prob. 1-1 1-2 กำหนดให้โครงข้อหมุน (truss) มีลักษณะดังที่แสดงในรูปที่ Prob. 1-2 จงหาหน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วน ต่างๆ ของโครงข้อหมุนพร้อมทั้งระบุด้วยว่าเป็นหน่วยแรงดึงหรือหน่วยแรงกดอัด เมื่อโครงข้อหมุนมีพื้นที่หน้าตัดดังต่อไปนี้ AAR = 960 mm², ABC = 516 mm², ua AAC AB = 385 mm² 1.20 m 0.90 m รูปที่ Prob. 1-2 E 45° B 8.9 mm 7.6 mm 1-3 ชิ้นส่วนต่างๆ ของโครงข้อหมุน ดังที่แสดงในรูปที่ Prob. 1-3 มีพื้นที่หน้าตัดเท่ากับ 806 mm ถ้ากำหนดให้หน่วยแรง ตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนใดๆ ของโครงข้อหมุนมีค่าได้ไม่เกิน 140 MPa จงหาค่าแรง P สูงสุด P รูปที่ Prob. 1-3 F 1.20 m 2.5 kN 7 B ›COS 45° D

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/2