ภาษาไทย
มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ🙏

แบบฝึกที่ ๓ นำตัวอักษรหน้าข้อความด้านซ้าย เดิมลงในช่องว่างหน้าข้อความด้านขวาที่มี ความหมายสัมพันธ์กับคำที่ขีดเส้นใต้ จากนั้นสรุปความที่ได้จากบทประพันธ์ บัดนั้น ตะหมังรับสั่งใส่เกศา ให้โยธาถางที่นี่นัน ก. ปุโรหิต ออกมาเกณฑ์กันดังบัญชา บัดนั้น รับสั่งบังคมลาคลาไคล ตำมะหงงกุเรปันกรุงใหญ่ ข. มหาดเล็ก ออกไปจัดทัพฉับพลัน ต่างองค์ขึ้นทรงม้าต้น กิดาหยันพี่เลี้ยงเคียงพาชี พร้อมพลจตุรงค์ทั้งสี่ ถวายกลดโหมดสีต่างกัน ค. สมุหราชมณเฑียร ยาสาบังคมบรมนาถ จึงดำรัสตรัสสั่งไปทันที เบิกทูตถือราชสารศรี ให้เสนีนำแขกเมืองมา ง. สมุหพระนครบาล ครั้นถึงจึงไปแจ้งกิจจา แก่ปาเตะเสนาผู้ใหญ่ โดยได้เห็นสิ้นทุกสิ่งอัน จ. สมุหกลาโหม เล่าความแต่ต้นจนปลายไป การสรุปความ ๒ การตั้งทัพในที่ที่มี เห็นละหานธารน้ำไหลหลั่ง จึงดำรัสตรัสสั่งเสนี ร่มไทรใบบังสุริย์ศรี ให้ตั้งที่นาคนามตามตำรา ก. ไม้ใหญ่ การตั้งทัพในพื้นที่ ที่ใกล้น้ำ พิธีตัดไม้ที่ชื่อเหมือน หรือคล้ายกับชื่อศัตรู พิธีประตูป่า ๑ ต้นบนเนิน ฟังคำโหราหาฤกษ์ใหม่ หนักหน่วงน้ำพระทัยดูให้ดี ข. ขอพระองค์จงกำหนดงดยาตรา อันการยุทธ์ยิงชิงชัย พอได้ศุภฤกษ์ก็ลั่นฆ้อง ประโรหิตฟันไม้ข่มนาม ประโคมคึกกีกก้องท้องสนาม ค. ทำตามต่ำราพิชัยยุทธ์ โอมอ่านอาคมคาถา ชีพ่อก็เบิกโขลนทวาร เสด็จทรงช้างที่นั่งหลังคา ครั้นถึงเนินทรายชายทุ่ง ง. คลาเคลื่อนโยธาทุกหมวดกอง แว่นแคว้นแดนกรุงดาหา ที่ต้องนามครุฑาเกรียงไกร การทำนายดวงชะตา จ. จึงให้หยุดกองทัพตั้งพลับพลา การสรุปความ
แบบฝึกที่ ๒ พิจารณาคำพูดของตัวละครจากบทประพันธ์ที่กำหนดให้ แล้วนำตัวเลขหน้า ข้อความในกรอบสีเขียวมาเติมลงใน เพื่อระบุความสัมพันธ์ของตัวละคร แบบฝึกี ดูก่อนอริราชไพรี อย่าพาทีลบหลู่ท่านผู้ใหญ่ โอหังบังอาจประมาทใคร จะนบนอบยอบไหว้อย่าพึงนึก ก. ๑. พี่น้อง 5. ลุง จึงทูลองค์ระเด่นมนตรี น้องนี้จะ ๒. น้องร่วมสัตย์ ๗. อา นี้จะขออาสา ข. ลูกพี่ลูกน้อง ๔. บิดา สู้วิทยาสะกำผู้ศักดา พระองค์จงยืนม้าเป็นประธาน ๓. ๔. ผู้สังหาร ๔. ธิดา ศ. ๕. ผู้ถูกสังหาร ๑๐. สามี แม้นวิหยาสะกำมอดม้วย พี่ก็คงตายด้วยโอรสา ไหนไหนในจะตายวายชีวา ถึงเร็วถึงช้าก็เหมือนกัน แล้วบอกว่าสมเด็จพระบิดร เสร็จศึกจะเข้าไปอัญชลี ให้ข้าคุมนิกรน้อยใหญ่ จะด่าตีก็ตามอัชฌาสัย กา มาบรรจบทัพพระองค์ไป เมื่อได้เกินแล้วก็จนใจ ช่วยพิชัยดาหาธานี ตามแต่ภูวไนยจะปรานี เห็นจะรักเมียจริงยิ่งกว่าญาติ สตรีใดในพิภพจบแดน ข้าน้อยทั้งสองเป็นไพรี ไหนจะคลาดจากเมืองหมันหยาได้ ไม่มีใครได้แค้นเหมือนอกข้า โทษผิดครั้งนี้หนักหนา ได้ถึงมาตรจะมาก็จำใจ ด้วยใฝ่รักให้เกินพักตรา จงโปรดปรานประทานชีวา ไว้เป็นข้าใต้เบื้องบทมาลย์ ด้วยกลัวภัยพระราชบิดา จะมีแต่เวทนาเป็นเนื่องนิตย์ ร้อยเรื่อง แล้วแถลงแจ้งเหตุบรรยาย แต่ต้นจนปลายถ้วนถี่ เห็นงามอยู่แล้วหรือหลานรัก เจ้าหาญหักไม่ฟังคำข้ามา การทำสงครามในสมัยอยุธยา มีความคล้ายคลึงกับสงครามที่ บรรยายถึงในเรื่องอิเหนาหรือไม่ วันเมื่อน้องมาถึงธานี พลอยได้ความผิดด้วยนัดดา ได้ทูลว่าพระพี่จะยกมา เมื่อกระนี้จะว่าประการใด อย่างไร
หน่วยการเรียนรู้ศ่ โ๓ อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนึ่ง วรรณคดีเรื่องอิเหนาได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรให้เป็นยอดของกลอนบทละครรำ อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง กล่าวถึงสงครามอันเกิดจากการแย่งชิงนางบุษบา วรรณคดีเรื่องนี้มีความดีเด่น ในด้านเนื้อหาที่ทำให้ผู้อ่านรู้สึกสนุกสนานไปกับเรื่อง และมีกระบวนกลอนที่ไพเราะ ให้ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับประเพณี วัฒนธรรม และสภาพสังคมในอดีตได้เป็นอย่างดี ต้นเค้าวรรณกรรม แบบฝึกที่ 9 ตะแนนเด็น วงกลมล้อมรอบชื่อตัวละคร จากนั้นนำชื่อตัวละครมาเขียนลงในช่องว่างด้าน ล่างให้ถูกต้องตามเนื้อเรื่อง ท้ ป ป ตี ก ะ ห รั ด ต ะ า อ ร ดี น ค า ม า ร ะ ต า อ ห ว สุ ห ร า น. า ก ง น ยี วิ ด า ว บุ พ ะ ว ก ย ะ ป ตู า ห ตี ษ า ห ด ต จิ ริ นิ ร บ ล น ต ะ ห ห ท้ มั น ห้ ย า ง น า า า ห ลั ณ์ า ว ว า น ง ก ษ ต ว ท้ า เ ร น ว า ด า ห า เ ห นิ ง รั ด ป า ย ห ร า นิ้ น อิ เ ห น า เ ร อ. ส ะ กำ ป ร า ง า วิ ห ย า เมืองหมั่นหยา เมืองกะหมังกุหนิง เมืองกุเรปัน เมืองดาหา เมืองสิงหัดส่าหรี่ Se ee ee
PromotionBanner

คำตอบ

[๑.]
ก. ดะหมัง เทียบเท่า สมุหราชมณเฑียร
ข. ตำมะหงง เทียบเท่า สมุหกลาโหม
ค. กิดาหยัน เทียบเท่า มหาดเล็ก
ง. ยาสา เทียบเท่า ปุโรหิต
จ. ปาเตะ เทียบเท่า สมุหพระนครบาล
[๒.]
ก. นาคนาม หมายถึง การตั้งทัพในพื้นที่ใกล้น้ำ
ข. ฟังคำโหรา หมายถึง การทำนายดวงชะตา
ค.ฟันไม้ข่มนาม หมายถึง พิธีตัดไม้ที่ชื่อเหมือน/คล้ายศัตรู
ง. เบิกโขลนทวาร หมายถึง พิธีประตูป่า
จ. นามครุฑา หมายถึง การตั้งทัพในที่ที่มีต้นไม้ใหญ่ ๑ ต้น บนเนิน

แสดงความคิดเห็น
ข้อสงสัยของคุณเคลียร์แล้วหรือยัง?

เมื่อดูคำถามนี้แล้ว
ก็จะเจอคำถามเหล่านี้ด้วย😉