ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ภาษาไทย มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะ

๑๑) เสียงในภาษาไทย หมายถึงข้อใด ก. เสียงสูง เสียงกลาง เสียงต่ำ ค. เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา ง. เสียงพยัญชนะต้น เสียงพยัญชนะควบ เสียงพยัญชนะสะกด ๑๒) ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. สระมีทั้งหมด ๒๑ รูป ๓๒ เสียง (ตำราเดิม) ข. สระมีทั้งหมด ๒๑ รูป ๒๑ เสียง (ตำราเดิม) ค. พยัญชนะมีทั้งหมด ๔๔ รูป ๒๑ เสียง ๑๓) ข้อใดมีสระเสียงสั้นทุกพยางค์ ก. น้ำแข็ง น้ำใจ น้ำเชื่อม น้ำมัน ข. เสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ ง. วรรณยุกต์มี ๔ รูป ๕ เสียง ข. นงนุช นงเยาว์ นงคราญ นงลักษณ์ ง. นพเก้า นพคุณ นพเคราะห์ นพรัตน์ ข. นมข้น นมผง นมสด นมกล่อง ๑๔) ข้อใดมีเสียงสระประสมมากที่สุด ก. หลอก แทรก ปลวก ป่วน ข. เชิง เชื่อม ไข ม้วน ค. บวม เรียง กลัว เปลือก ๑๕) คำในข้อใดออกเสียงพยัญชนะต้นเสียง / ช / มากที่สุด ง. กวน อ้อน เปียก รำ ก. ฉาบ ฌาน เฉียด เฌอ ข. เสริม ไซร้ ฌาน เฌอ แทรก แสร้ง เฌอ ทราบ ง. สฤษฎ์ เฉือน โฉม ทรง ค. ๑๖) คำว่า "ข้าว" ในข้อใดออกเสียงสั้น ก. ข้าวเย็นแล้วต้องเอาไปนึ่งใหม่ ค. เราต้องนึกถึงข้าวแดงแกงร้อนของเขา ข. ข้าวสวยดีน่าจะเก็บไว้ทำพันธ์ ง. ข้าวเหนียวมากคงจะกินไม่อร่อย ๑๗) จากคำต่อไปนี้ "นพ , ดุจ กัน เทียบ" มีเสียงวรรณยุกต์เรียงตามข้อใด ก. สามัญ ตรี โท เอก ค. สามัญ เอก โท ตรี ๑๘) คำในข้อใดมีโครงสร้างของพยางค์เหมือนกันทุกคำ ข. ตรี สามัญ เอก โท ง. ตรี เอก สามัญ โท ก. เล่ห์ มาร ร้าย กล ข. ใน น้ำ ปลา นา ค. แดง แต่ง เติม แก้ม ง. จันทร์ เท่ห์ วัลย์ เสาร์ ๑๙) คำในข้อใดเป็นพยางค์ปิดทุกคำ ก. ท้าย สุด ฉัน คือ ข. ที่ ห้า นา ใน ค. อย่าง ไร เธอ มา ง. บ้าน ทุ่ง น้อง นาง ๒๐) ข้อใดใช้วัจนภาษา ก. เธออ่านนวนิยายแล้วชอบเล่าให้เพื่อนฟัง ค. นักเรียนในชั้นเงียบทันทีเมื่อครูจ้องหน้า 4. ทุกครั้งที่ฟังเพลงตลกพวกเขาจะหัวเราะทันที ข. เขายิ้มด้วยความพอใจเมื่อได้รับชัยชนะ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

1๓ ๓ ข้อใดเป็นการอ่านออกเสียงได้ถูกต้องที่สุด (ท ๑.๑ ม.ณ๒/๑ : วิเคราะห์) ๓๑) อ่านออกเสียงเรียบๆ ไม่เน้นเสียงสูงตํา ๒) อ่านออกเสียงให้เป็นเสียงพูดอย่างธรรมชาติ ๓) อ่านออกเสียงแทรกอารมณ์ตามวิธีก ารพูดทั่วไป ๕ อ่านออกเสียงให้คว ามรู้สึกสะเทือนอารมณ์แก่ผู้ฟัง ๕) อ่านออกเสียงให้เน้นเสียงหนัก เบา สูง ต่า มีลีลาในการออกเสียง บทประพันธ์นี้ ใช้ศิลปะในการอ่านแบบใดมากที่สุด (ท ๑.๑ ม.๕-๒๐/๑ : วิเคราะห์) « พระอภัยใจอ่อนถอนสะอื้น อุตส่าห์ฝันพักตร์ว่านิจจาเอ๋ย แม่ผีเสื้อเมื่อไม่เห็นในใจเลย พี่ไม่เคยอยู่ถ้าให้รําคาญ ” ๑) การทอดเสียง ๒) การครั่นเสียง ๓) การหลบเสียง ๑) การเอื้อนเสียง ๕) การครวญเสียง ข้อใดแบ่งวรรคตอนการอ่านเรื่อง อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง ไม่ถูกต้อง (ท ๑.๑ ม.๕/๑ : เข้าใจ) ๑) นางนวล/จับนาง/นวลนอน ป ๒) เหมือนพี่แนบ/นวลสมร/จินตะหรา ๓) จากพราก/จับจาก/จํานรรจา ๕) เหมือนจากนาง/สกา/ระวาตี ๕) แขกเต้า/จับ/เต่าร้างร้อง อ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคําถามข้อ ๒ - ซ “ปิดหน้าต่างเสีย” คุณหญิงออกคําสั่ง น 4 ป ขัง เซ ส0เต! ห มย ร แล้วเมือใบเฟิร์นมาอยู่ทีนี กลางคืนควรนอนปิดหน้าต่างด้วย ฉันไม่อยากให้เปิดล่อขโมยหรือว่ายุง” น้อยแทบอ้าปากค้าง “แล้วคุณหนูใบเฟิร์นไม่ร้อนตายหรือคะ คุณผู้หญิง” คุณผู้หญิงเหลือบตามองเด็กสาวอย่างตําหนิทําให้หล่อนหน้าจ๋อยลงไปอีกครั้ ห็นเธอ” เธอเหลี่ยวมองรอบๆ ห้องอีกครั้งหนึ่ง เมื่อไม่เห็นข้อตําหนิ “ฉันสั่งให้เธอบอกใบเฟิร์น ไม่ได้ถามความเห็ =. 57 0 มณ ก็เดินกลับออกมาข้างนอก ใส่กุญแจห้องเก็บของไว้อย่างรอบคอบ แล้วเหน็บกุญแจไว้ที่เอว ๑ ส่ = ๒, จากบทสนทนาชี้ให้เห็นข้อใดของคุณผู้หญิงได้ชัดเจนทีสุด (ท ๑.๑ ม.๕๒/๒ : วิเคราะห์) ๑) นิสัย ๒) วิธีพูด ๓) มารยาท ๕@) ลักษณะ @) ความเป็นอยู่ จากบทสนทนานี้แสดงว่าน้อยมีนิสัยอย่างไร (ท ๑.๑ ม.๕-๒/๒ : วิเคราะห์) ๑) เห็นใจผู้อื่น ๒) รอบคอบ ๓) ชื่อสัตย์ ๕) อดทน ๕ขยัน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
PromotionBanner