ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

เพื่อนๆช่วยเราหน่อยน่ะะะะะ เหลือดวลาไม่กี่วันเเล้ว ใครที่ผ่านมาเจอโพสต์นี้ช่อยเราหน่อยน่ะ

12) การเผาไหม้เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์จะมีการปล่อยแก๊สใดบ้างออกสู่บรรยากาศ และมีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อมอย่างไร ตอบ 13) พลังงานสิ้นเปลืองและพลังงานหมุนเวียนแตกต่างกันอย่างไร พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ตอบ 14) พลังงานทดแทนคืออะไร พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ตอบ 15) การใช้พลังงานอย่างยั่งยืนควรทำอย่างไร ตอบ แบบทดสอบหลังเรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 คะแนน เรื่อง แหล่งพลังงาน (Source of mergy) ชื่อ-สกุล ชั้น เลขที่ 1) ข้อใดไม่จัดเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป (Non-renewable energy) ก. หินน้ำมัน ข. ถ่านหิน ค. พลังงานชีวมวล ง. ปิโตรเลียม 2) ข้อใดคือถ่านหินที่ให้ความร้อนสูงที่สุด ก. พีท ข. ลิกไนต์ ค. บิทูมินัส ง. แอนทราไซด์ 3) ข้อใดคือถ่านหินที่มีปริมาณคาร์บอนสูงที่สุด และถ่านหินที่ยังพบซากพืชปนอยู่ ตามลำดับ ข. บิทูมินัส และพีท ง. ซับบิทูมินัส และ แอนทราไซด์ ก. พีท และ แอนทราไซด์ ค. แอนทราไซด์ และ พีท 4) สารประกอบขนิดใดที่สามารถเปลี่ยนเป็นน้ำมันได้เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ก. เคอโรติน ข. เคอโรเจน ค. กลีเซอรอล 5) ข้อใดคือปัจจัยที่ทำให้ซากพืชและสัตว์แปรสภาพเป็นปิโตรเลียม ง. เบนซีน ก. อุณหภูมิ ค. ระยะเวลาที่เหมาะสม ข. ความดัน ง. ถูกทุกข้อ 6) ปิโตรเลียมประกอบด้วยสิ่งใด ก. น้ำมันดิบ ถ่านหิน ข. แก๊สธรรมชาติ แก๊สโซฮอล์ ง. น้ำมันดิบ แก๊สธรรมชาติ ค. แก๊สธรรมชาติ หินน้ำมัน 7) ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นน้ำมันดิบ สารในข้อใดมีจุดเดือดต่ำที่สุด และน่าจะเป็นยางมะตอย(บิทูเมน) ตามลำดับ หอกลั่น ก. สาร A และ C ข. สาร A และ D น้ำมันดั, ศ. สาร C และ B ง. สาร D และ A HEAT 8) ปฏิกิริยาการเผาไหม้สมบูรณ์ของเชื้อเพลิงปิโตรเลียมให้แก๊สชนิดใดมากที่สุด ข. แก๊สในโตรเจน ก. แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ ค. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ง. แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 9) ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานทดแทน ก. ใช้ทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ ค. ช่วยลดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ข. เป็นพลังงานที่มีอยู่ในธรรมขาติ ง. พลังงานทดแทนมีต้นทุนต่ำ ราคาถูก 10) ประเทศไทยมีการใช้แหล่งพลังงานชนิดใดมากที่สุด ก. ถ่านหิน ข. ปิโตรเลียม ค. พลังงานแสง ง. พลังงานชีวมวล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ใครรู้บ้างงับพี่ๆเพื่อนๆ🤞😥

คะแนน แบบทดสอบหลังเรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง แหล่งพลังงาน (Source.of.energu) ชั้น เลขที่ ชื่อ-สกุล 1) ข้อใดไม่จัดเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป (Non-renewable energy) ก. หินน้ำมัน ข. ถ่านหิน ค. พลังงานชีวมวล ง. ปิโตรเลียม 2) ข้อใดคือถ่านหินที่ให้ความร้อนสูงที่สุด ก. พี่ทุ ค. บิทูมินัส 3) ข้อใดคือถ่านหินที่มีปริมาณคาร์บอนสงที่สุด และถ่านหินที่ยังพบซากพืชปนอยู่ ตามลำดับ ข. ลิกไนต์ ง. แอนทราไซด์ ก. พีท และ แอนทราไซด์ ข. บิทูมินัส และพีท ง. ขับบิทูมินัส และ แอนทราไซด์ ค. แอนทราไซด์ และ พีท 4) สารประกอบชนิดใดที่สามารถเปลี่ยนเป็นน้ำมันได้เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ก. เคอโรติน ข. เคอโรเจน ค. กลีเซอรอล ง. เบนซีน 5) ข้อใดคือปัจจัยที่ทำให้ซากพืชและสัตว์แปรสภาพเป็นปิโตรเลียม ก. อุณหภูมิ ข. ความดัน ค. ระยะเวลาที่เหมาะสม ง. ถูกทุกข้อ 6) ปิโตรเลียมประกอบด้วยสิ่งใด ก. น้ำมันดิบ ถ่านหิน ข. แก๊สธรรมชาติ แก๊สโซฮอล์ ง. น้ำมันดิบ แก๊สธรรมชาติ ค, แก๊สธรรมชาติ หินน้ำมัน 7) ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นน้ำมันดิบ สารในข้อใดมีจุดเดือดต่ำที่สุด และน่าจะเป็นยางมะตอย(บิทูเมน) ตามลำดับ หอกลัน A ก. สาร A และ C ข. สาร A และ D น้ำมันดิบ C ค. สาร C และ B ง, สาร D และ A HEAT 8) ปฏิกิริยาการเผาไหม้สมบูรณ์ของเชื้อเพลิงปิโตรเลียมให้แก๊สชนิดใดมากที่สุด ก. แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ ข. แก๊สในโตรเจน ค. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ง. แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ -) ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานทดแทน ก. ใช้ทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ ข. เป็นพลังงานที่มีอยู่ในธรรมชาติ ง. พลังงานทดแทนมีต้นทุนต่ำ ราคาถูก ค. ช่วยลดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม 2) ประเทศไทยมีการใช้แหล่งพลังงานชนิดใดมากที่สุด ก. ถ่านหิน ข. ปิโตรเลียม ค. พลังงานแสง ง. พลังงานชีวมวล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
PromotionBanner
เคมี มัธยมปลาย

วิทย์กายภาพเคมี ม.4

ใบงาน เรื่อง องค์ประกอบในอากาศ วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 ื่อ บทที่ 1 อากาศ เลขที่ อ) มุมความรู้ สัดส่วนองค์ประกอบในอากาศ แก้สในโตรเจน 78% แก๊สอื่น ๆ เช่น แก๊สอาร์กอน 0.9% แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 0.04% แก๊สฮีเลียม 0.0005% แก๊สออกซิเจน 21% 1. จงนำตัวอักษรหน้าข้อความทางขวามือไปเติมหน้าข้อที่มีความสัมพันธ์กันต่อไปนี้ (ตัวอักษรสามารถซ้ำข้อได้) 1) มีปริมาณมากที่สุดในอากาศ 2) มีปริมาณน้อยกว่าแก๊สที่มีมากที่สุดในอากาศประมาณ 4 เท่า A. แก้สออกซิเจน B. แกสในโตรเจน 3) ถ้าไม่มีองค์ประกอบนี้ในอากาศจะเรียกว่า อากาศแห้ง C. แกสมีเทนไอน้ำ 4) มีส่วนสำคัญในปฏิกิริยาการเผาไหม้ การเกิดสนิม 5) เป็นสารตั้งต้นในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 6) ชื่อตรงกับคำในภาษากรีกที่มีความหมายว่า "ขี้เกียจ เฉื่อยชา" 7) เคลื่อนที่เข้าและออกจากปอดโดยไม่ทำปฏิกิริยากับสารใด ๆ ในร่างกาย 8) ทำปฏิกิริยาเคมีกับสารอาหารแล้วให้พลังงานที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต D. แกสอาร์กอน E. แก้สฮีเลียม F. แกสไฮไดรเจน G. แกสคาร์บอนไดออกไซด์ H. แกสโอโซน ตอร่างกาย I. แกสคาร์บอนมอนอกไซด์ 9) เป็นผลิตภัณฑ์จากกระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิตและการเผาไหม้เชื้อเพลิง 10) มีความเฉื่อยช้ำ ไม่ว่องไวต่อการเกิดปฏิกิริยาเช่นเดียวกับแก๊สอาร์กอน ง. ไอน้ำ หน้า 1

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

20 4. จงระบุว่า สารใดบ้างที่มีสมบัติเป็นเบส HO-CHy CHy-CHz NH2 HO- CHy-CHy NH-CH3 สาร S สาร T สาร U 5. สารใดต่อไปนี้มีสมบัติกรด-เบสเช่นเดียวกับกรดแอมิโน CHง NH CH) -NH2 .CH) 'CH HyCา 1. เCH2 -N. CH2 O= "CH, เCH2 HC เCH) HC. "CH2 "CH2 HO HOOCา สาร X สาร Y สาร Z 6. โดยปกติการล้างคราบไขมันออกจากพื้นผิวของภาชนะแก้วทำได้ง่ายกว่าภาชนะพลาสติกนักเรียนคิดว่า พลาสติกและแก้วเป็นสารมีขั้วหรือไม่มีขั้ว เพราะเหตุใด 7. เมื่อนำกล่องโฟมบรรจุอาหารมาใส่อาหารผัดหรือทอด พบว่ามีรูรั่วเกิดขึ้น นักเรียนคิดว่ากล่องโฟมผลิต ขึ้นมาจากสารมีขั้วหรือไม่มีขั้ว และจะอธิบายเหตุการณ์ดังกล่าวโดยใช้หลักการ like dissolves like ได้อย่างไร 8. พอสิไวนิลคลอไรด์สามารถนำมาริไซเคิลได้ พอลิไวนิลคลอไรด์มีโครงสร้างแบบใดได้บ้าง พร้อมวาด ภาพประกอบ. 9. โครงสร้างของพอลิเมอร์ A และ B เป็นดังนี้ พอลิเมอร์ทั้งสองชนิดสามารถนำมาผลิตเป็นเส้นใย สำหรับผลิตผ้าได้ ผ้าที่ทำจากพอลิเมอร์ใดดูดซับน้ำได้ดีกว่า เพราะเหตุใด HO-CH2 HO-CH2 HO-C-Q HO-C-CH2 CH-0-CH CH-0 -HC () HC=CH 0 HC-CH || HC-CH -0-CHy-CHy-0-C- -4 3 OH OH OH OH HC-CH พอลิเมอร์ A พอลิเมอร์ B

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

มีใครเคยทำUnit Questions 2 เคมีม.5เทอม1 นี้ไหมคะ มีใครพอทำได้บ้าง🤔

Unit Question 2 แสมุด คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. กำหนดปฏิกิริยาให้ ดังนี้ A + 38 - 5C + 4D ถ้านำ A 1 โมล มาทำปฏิกิริยากับ B 5 โมล พบว่า เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที มีสาร C เกิดขึ้น 4 โมล อัตราการสลายตัวเฉลี่ยของสาร B ในช่วง 0-10 วินาที มีค่ากี่โมลต่อวินาที นำโลหะสังกะสี 1.3 กรัม มาทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.5 โมลาร์ จำนวน 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ในช่วงนาทีแรก มีอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเท่ากับ 5.6 ลูกบาศก์เซนติเมตร/นาที ที่ STP อัตราการลดลงของสารละลายกรดไฮโดรคลอริกจะมีค่าเท่ากับ กีโมลาร์/นาที (กำหนดให้ มวลอะตอมของ Zn = 65) 2. เมื่อนำแมกนีเซียมจำนวน 7.2 กรัม มาทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 3 โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร จำนวน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร เมื่อเวลาผ่านไป 1 นาที ปฏิกิริยา สิ้นสุดลงพอดี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีค่าเท่ากับกี่โมล/วินาที 3. Sh SL 4. จากการศึกษากลไกของปฏิกิริยา 2NO, (8) + F, (8) 2NO.F (8) มีกลไก 2 ขั้นตอน ดังนี้ NO (8) + F, (8) NO.F (g) + F (g) : เกิดช้า F (g) + NO (8) NO.F (g) ; เกิดเร็ว กฎอัตราของปฏิกิริยานี้เป็นอย่างไร 5. แก๊ส NO, สลายตัว ดังสมการ 2NO, (8) - 2NO (g) + 0, (8) ถ้าอัตราการสลายตัวของแก๊ส NO, มีค่าเท่ากับ 4.4 x 10 โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร-วินาที อัตราการเกิดแก๊ส 0, จะมีค่าเท่ากับกี่โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร-วินาที เมื่อนำแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) มาทำปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีน (Cl,.) เกิดเป็นแก๊ส ไนโตรซิลคลอไรด์ (NOCI) เพิ่มขึ้นด้วยอัตรา 0.045 โมล/ลูกบาศก์็เดซิเมตร-วินาที อัตราการลดลง 6. ของแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ ณ ช่วงเวลาเดียวกันมีค่าเท่าใด อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี | 87

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ เราไม่เข้าใจ

ใบงาน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงขีดเส้นใต้คำที่อยู่ในวงเล็บที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้มีความถูกต้อง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุต่าง ๆ ระหว่างอโลหะกับ (โลหะ/อโลหะ) โดย เกิดการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ ๆ เมื่ออะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน จะทำให้อะตอมมีความ (เสถียร/อิสระ) มากขึ้น การที่อะตอมจะมี มีลักษณะดังกล่าวได้ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน/อิเล็กตรอน) ต้องมีค่า เท่ากับ 8 เหมือน (ธาตุแฮโลเจน/แก๊สเฉื่อย) โดยการรวมกันเป็นโมเลกุลของธาตุ อะตอมของธาตุจะเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันทำให้เกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง และเกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนอะตอมหนึ่งกับโปรตอนในนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง ซึ่ง เมื่ออะตอมทั้งสองเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันมีระยะห่างระหว่างนิวเคลียสมีความเหมาะสมในการเกิดพันธะ พบว่า แรงดึงดูดมีค่าเท่ากับแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของอะตอมมีค่า (ลดลง/เพิ่มขึ้น) 2. พันธะโคเวเลนต์ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ 3. จงเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ไนโตรเจนไตรคลอไรต์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ เราไม่เข้าใจ

2. ให้นักเรียนศึกษาตารางสารมลพิษ แหล่งกำเนิด และผลกระทบในหนังสือเรียน พร้อมเติมข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง สารมลพิษ แหล่งกำเนิด ผลกระทบ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ - การเผาไหม้เชื้อเพลิงใน เครื่องยนต์ การเผาขยะ - ไฟป่า แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ระคายเคืองตา ผิวหนัง และหาก สูดดมเข้าไปมาก อาจทำให้ระบบ การหายใจผิดปกติ และเป็นสาเหตุ ของการเกิดฝนกรด ระคายเคืองต่อระบบทางเดิน - การเผาไหม้เชื้อเพลิงใน เครื่องยนต์ หายใจ และเป็นสาเหตุของการเกิด ฝนกรด - การเผาไหม้สารอินทรีย์ในเตาเผา - ไฟป่า - การทำปฏิกิริยาเคมีของ สารอินทรีย์ระเหยง่าย กับ ออกไซด์ของไนโตรเจนในอากาศ หากสะสมในปริมาณมาก ระบบ ประสาทจะถูกทำลาย ผู้ป่วยจะ อ่อนเพลีย ซึมเศร้า มือเท้าไม่มี เรี่ยวแรง ตาพร่ามัว สูญเสียการได้ ยิน พิการ และรุนแรงถึงขั้น เสียชีวิต ตะกั่ว ทำลายระบบประสาท มีผลต่อ พัฒนาการทางสมองของทารก เป็นสาเหตุของโรคโลหิตจาง และ โรคไต ฝุ่นละออง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/4