ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไท... อ่านต่อ

ใบงานที..... อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภัสพรรณ เลาสุทแสน - สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเราได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23,38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีมลดส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งแหกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุด ราคาน้าเช้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข่าวสารที่ทันสมัย คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องการอยากทราบคำตอบของโจทย์เรื่องพริกไทย

อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภีสุพรรณ เลาสุทแสน - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ อาน เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคาน้ำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23.38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีผลผลิตส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งผลกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุดคือราคานำเข้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ไปทาน คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ จำนวน 20 รายโสผู้บริโภค ระโย 2006 207 คนในคร โลก 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? - คาคาชน ที่เกี่ยว 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ?ราคาที่ผลิต (1) ต้นตระก 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ) เทคโนโว เกมติม 28294 บริ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

เรื่องค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี

H 2,1 แบบฝึกหัด คำสั่ง : จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. พิจารณาคาอิเล็กโทรเนกาติวิตในตารางธาตุที่กำหนดให้ Li 1.0 สรุปปัจจัยที่มีผลต่อค่าอิเล็กโทรน 1) ขนาดอะตอม (กรณีที่ธาตุมีจำนวนระดับชั้นพลังงานต่างกัน) - อะตอมขนาดเล็ก - แรงดึงดูดระหว่าง nucleus กับ 6 มีค่ามาก e เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 2 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้ดี จึงมีค่า EN สูง - อะตอมขนาดใหญ่ - แรงดึงดูดระหว่าง nucleus กับ 8 มีค่าน้อย เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 8 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้แก่ จึงมีค่า EN ตัว 2) จำนวนประจุบวกในนิวเคลียส (กรณีที่ธาตุมีจำนวนระดับชั้นพลังงานเท่ากัน) Na Me 0.9 1.2 Rb 0.8 K Ca 0.8 4.0 Cs 0.7 Be 1.5 Fr 0.7 - อะตอมของธาตุที่มีจำนวนประจุบวกในนิวเคลียส (หรือจำนวนโปรตอน ที่มาก เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 2 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้ดีกว่า ธาตุนั้นจึงมีค่า EN สูง Sc 1.3 St Y Zr 1.0 1.2 14 Ti 1.5 Ba La-Lu HT 091-12 13 Ra Ac-No 0.9 1.1-1.7 N V 1.6 Cr 1.6 Nb Mo 1.6 1.8 Ta W 1.5 1.7 Min Fe 15 1.8 Tc 1.9 Re 1.9 ******* Ru 2.2 Os 2.2 Co 1.8 Rh Pd 2.2 2.2 Ir Ni 1.8 A PL 2.2 2.2 Cu 19 Ag 1.9 Au 2.4 Zn 1.6 B C 2.0 Hg 1.9 A[ 1.5 Ga 1.6 Cd In 1.7 1.7 TI 1.8 N 2.5 3.0 Si 1.8 Ge 1.8 P 2.2 Pb 1.8 As 2.0 0 35 Bi 1.9 Sn Sb Te 1.8 1.9 2.1 Se 2.4 จงตอบคําถามต่อไปนี้ 1) จากข้อมูลด้านบน ธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาตัวมากที่สุด และธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาตัวน้อยที่สุด ตอบ............... F 4.0 S C Ar 25 3.0 Br 2.8 I 2.5 Po AL 2.0 2.2 2) นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดธาตุหมู่ 8A ส่วนใหญ่จึงไม่มีค่าอิเล็กโทรเนกาทีวี ยกเว้นธาตุจริปทอน (K) และธาตุซีนอน (Xe) ตอบ........... He Ne Kr 3.0 Xe 2.6 Rn …...…..…………

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
การงานอาชีพและเทคโนโลย มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ

วิชา เทคโนโลยี การออกแบบและเทคโนโลยี เลขประจำตัว คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ (10 คะแนน) 1. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง คือ ตอบ 2. การแก้ปัญหาการขาดแคลนพลังงาน คืออะไร และมีอะไรบ้างยกมา 3 ข้อ ตอบ 3. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีมีกี่ด้าน อะไรบ้าง ตอบ 4. เขื่อนมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร ตอบ 5. ให้นักเรียนบอกเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจำวันมา 1 อย่าง พร้อมอธิบาย ผลกระทบด้านบวกและด้านลบ จาก การใช้เทคโนโลยีดังกล่าว ตอบ เลขที่..

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ

หน่วยที่ 6 | กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ 126 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิธีการดำเนินกิจกรรม ตอนที่ 1 1. จัดอุปกรณ์ดังภาพ นำชุดอุปกรณ์ไปวางในขัน แผ่นใส 1 แผ่น ม้วนเป็นท่อและเจาะรู ตรงกลาง ทำเครื่องหมายที่ระยะ 10 cm จากรูตรงกลางทั้งสองด้าน นำท่อแผ่นใสสอดเข้าไปใน ขวดพลาสติก 2 ใบ ภาพการจัดอุปกรณ์ในกิจกรรม 2. รินน้ำอุณหภูมิห้องและน้ำร้อนจัดลงในขันใบที่ 1 และ 2 ตามลำดับ จัดเป็นชุดทดลองที่ 1 โดยให้ระดับน้ำในขันสูง ประมาณ 5 เซนติเมตร ตั้งชุดทดลองทิ้งไว้ 20 วินาที 3. จุดธูปและแหย่ก้านธูปเข้าไปในรูที่เจาะไว้ตรงกลางของท่อแผ่นใส เพื่อให้ควันเข้าไปในท่อ 4. บันทึกเวลาที่ควันธูปเคลื่อนที่จากจุดกึ่งกลางไปยัง เครื่องหมายที่ระยะ 10 เซนติเมตร 5. ทำซ้ำขั้นตอนที่ 2-4 อีกครั้ง โดยเปลี่ยนอุณหภูมิของ น้ำในขันใบที่ 1 และ 2 เป็นน้ำเย็นจัดและน้ำร้อนจัด ตามลำดับ จัดเป็นชุดทดลองที่ 2 โดยก่อนการทดลอง ให้คาดคะเนว่าควันธูปจะเคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือข้าลง ? คำถามท้ายกิจกรรม 1. อากาศในท่อใสมีทิศทางการเคลื่อนที่อย่างไร ทราบได้อย่างไร 2. ความดันอากาศในขวดใบใดมีค่าสูงกว่า เพราะเหตุใด 3. การเคลื่อนที่ของอากาศในท่อใสมีความสัมพันธ์กับความดันอากาศอย่างไร 4. อัตราเร็วลมในชุดทดลองใดมีค่ามากกว่า เพราะเหตุใด 5. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร H สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี น ง

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

เขียนบันทึกผลกับสรุปผลให้หน่อยค่ะ

กิจกรรมที่ 6.5 ปัจจัยที่มีผลต่อความชื้นสัมพัทธ์มีอะไรบ้าง จุดประสงค์ วัดความขึ้นสัมพัทธ์และอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อความชื้นสัมพัทธ์ วัสดุและอุปกรณ์ ไซครอมิเตอร์ วิธีการดำเนินกิจกรรม 1. อ่านข้อมูลและอภิปรายวิธีการใช้ไซครอมิเตอร์เพื่อวัดความชื้นสัมพัทธ์ ในหัวข้อเกร็ดความรู้ 2. วางแผนร่วมกันทั้งห้องเพื่อเลือกสถานที่ภายในโรงเรียนในการวัดความชื้นสัมพัทธ์ และอุณหภูมิอากาศ ให้แต่ละกลุ่ม, เลือกสถานที่ไม่ซ้ำกัน และกำหนดเวลาเดียวกันในการวัด โดยวัดไม่น้อยกว่า 5 ครั้งในรอบวัน เช่น เวลาก่อนเข้าเรียน เวลาพัก และหลังเข้าเรียน พร้อมทั้งออกแบบวิธีการบันทึกผลที่สังเกตได้ 3. สังเกตลักษณะทางกายภาพของสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ที่เลือก ตรวจวัดความซื้นสัมพัทธ์และอุณหภูมิอากาศตามที่ได้วางแผนไว้ และบันทึกผล 4. นำข้อมูลที่ตรวจวัดได้มาสร้างกราฟเส้นแสดงการเปลี่ยนแปลงความชื้นสัมพัทธ์ และอุณหภูมิอากาศในเวลาต่าง ๆ และ นำเสนอ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สังคมศึกษา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม.๔- ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมมีปัจจัยใดบ้าง และนักเรียนคิดว่ามีผลต่อตนเองและ ๕. นักเรียนจะมีส่วนในการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคมได้อย่างไร 0 คำถามพัฒนากระบวนการคิด นักเรียนมีส่วนเกี่ยวข้องกับสถาบันทางสังคมของไทยสถาบันใดบ้าง เพราะเหตุใด สถาบันเศรษฐกิจเกี่ยวข้องกับนักเรียนอย่างไร ๓. การขัดเกลาทางสังคม มีคุณค่าต่อนักเรียนและสังคมอย่างไร ๔. ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมมีปัจจัยใดบ้าง และนักเรียนคิดว่ามีผลต่อตนเองแล หรือไม่ อย่างไร การสร้างจิตสาธารณะเรื่องใดบ้างที่สามารถแก้ปัญหาของประเทศไทยได้ ๒๖ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ม.๒๐

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ

เมื่อนำภาชนะทรงกระบอกอันหนึ่งมาใส่น้ำ แล้วเจาะรูด้านข้างจำนวน 3 รู ในระดับที่ 1 ค.แนน ต่างกัน 3 ระดับ ทำให้น้ำไหลออกมาจากรูทั้งสาม ดังรูป ข้อใดอธิบายได้ถูกต้องเกี่ยว กับปัจจัยที่มีผลต่อความดันของของเหลว ความหนาแน่นของของเหลวต่างชนิดกันจะมีความดันต่างกัน ของเหลวที่มีความหนาแน่นมาก จะมีความดันต่ำกว่าของเหลวที่มีความหนาแน่นน้อย ที่ระดับความลึกเดียวกัน ความดันของของเหลวจะไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับขนาดของภาชนะด้วย O ที่ระดับความลึกต่างกัน ของเหลวที่อยู่ระดับลึกกว่า จะมีความดันมากกว่า เปรียบเทียบภาพการทดลองต่อไปนี้ ข้อใดอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อความดันของ ของเหลวจากภาพได้ถูกต้อง 1 คะแนน น้ำเปล่า น้ำเกลือ 10 เซนติเมตร 15 เซนติเมตร O ที่ระดับความลึกเดียวกัน ความดันของของเหลวจะไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับขนาดของภาชนะด้วย ของเหลวที่มีความหนาแน่นมาก จะมีความดันต่ำกว่าของเหลวที่มีความหนาแน่นน้อย ที่ระดับความลึกต่างกัน ของเหลวที่อยู่ระดับลึกกว่า จะมีความดันมากกว่า O ความหนาแน่นของของเหลวต่างชนิดกันจะมี ความดันต่างกัน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สังคมศึกษา มัธยมปลาย

😭🤍 ขอบคุณล่วงหน้าครับ วิชาประวัติศาสตร์

กิจกรรมที่ ๕ อ่านข้อความปัจจัยที่มีผลต่อการสถาปนาอาณาจักรไทย คน คิดเป็นร้อยละน ) แล้วใส่เครื่องหมายถูก (V) (X) และแก้ไขให้ถูกต้อง (ส ๔ ) ม.4-/๑) และผิด ธานีของไทยทั้งหมดตั้งอยู่ริมแม่น้ำ ๑. ราชสา ๒. สุโขทัยได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นราชธานี ของอาณาจักรสุโขทัย เพราะเคยเป็น เมืองสำคัญมาก่อน กรุงสุโขทัยเป็นศูนย์กลางการค้าของป่า ทั้งหลาย รวมทั้งสัตว์ป่ามากกว่า อาณาจักรอื่นๆ ๔. กรุงศรีอยุธยามีชัยภูมิที่เหมาะสมต่อ การสร้างราชธานีน้อยกว่าอาณาจักรอื่นๆ ๕. การสถาปนาอาณาจักรไทยเป็นการ เคลื่อนย้ายราชธานีหรือศูนย์กลาง อาณาจักรจากเหนือลงใต้ ๖. กรุงศรีอยุธยามีแม่น้ำ ๓ สาย ไหลผ่าน คือ แม่น้ำยม แม่น้ำเจ้าพระยา และ แม่น้ำลพบุรี ๗. กรุงศรีอยุธยามีพัฒนาการมาจาก อาณาจักรละโว้ และอาณาจักรขอม ๔. กรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ ตั้งอยู่ ริมแม่น้ำเจ้าพระยา และอยู่ใกล้ทะเล จึงเหมาะติดต่อค้าขายกับต่างชาติ ๔. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงย้าย ราชธานีมาที่กรุงธนบุรี เพราะมีสภาพ ภูมิศาสตร์ที่เหมาะสม ๑๐. รัชกาลที่ 9 ทรงให้สร้างสิ่งก่อสร้าง บางอย่างเลียนแบบสมัยอยุธยา เพราะ ต้องการสืบทอดราชธานีจากอยุธยา

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/3