ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

ตัวอย่างที่ 5 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) เข้มข้น 20% โดยมวลต่อปริมาตร จงหาความเข้มข้นเป็นโมลาร์ วิธีทำ แบบฝึกหัด 3 ข้อที่ 1 จงหาความเข้มข้นเป็นโมลาร์ของโซเดียมคาร์บอเนต (Na,CO.) 53.0 กรัม ในสารละลาย 1 ลูกบาศก์เดซิเมตร (มวลอะตอม C = 12, 0 = 16, Na = 23) วิธีทำ ข้อที่ 2 สารละลายโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) 0.010 mol/dm ปริมาตร 300 cm จะมีมวลของตัวละลายเป็นกี่กรัม (มวลอะตอม Na = 23, Cl = 35.5) วิธีทำ ข้อที่ 3 สารละลายกรดซัลฟิวริก (H,SO,) เข้มข้นร้อยละ 35.0 โดยมวล มีความหนาแน่น 1.26 g/cm ก. ในสารละลาย 100 ลูกบาศก์เดซิเมตร มีกรดซัลพิวริกละลายอยู่กี่กรัม วิธีทำ ข. สารละลายนี้มีความเข้มข้นเท่าใดในหน่วยโมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (มวลอะตอม H = 1, S = 32, 0 = 16) วิธีทำ

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

มีใครทำเป็นบ้างไหมคะ

จุดประสงค์ สังเกตและอธิบายการแยกสารโดยวิธีการสกัดด้วยตัวทำละลาย วิธีดำเนินกิจกรรม 1. สังเกตสีของน้ำและสารละลายเอทานอล บันทึกผล 2. ตัดใบไม้ให้เป็นชิ้นเล็กขนาดเท่าๆกัน กว้างประมาณ 0.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 1 เซนติเมตร จำนวน 20 ชิ้น บดหยาบๆด้วยโกร่งบด แล้วแบ่งเป็น 2 ส่วน เท่าๆกัน บรรจุลงในหลอดทดลองขนาดใหญ่2หลอด 3. สกัดสารจากใบไม้ด้วยตัวทำละลาย โดยเติมน้ำลงในหลอดทดลองหลอดที่1 และเติมสารละลายเอทานอลลง ในหลอดทดลองหลอดที่ 2 หลอดละ5 ลูกบาศก์เซนติเมตร ตามลำดับ จากนั้นปิดหลอดทดลองด้วยจุกยางแล้ว เขย่าแรงๆ2นาที สั่งเกตและบันทึกผล 4.ใช้หลอดหยดดูดเฉพาะของเหลวปริมาณเท่าๆกันออกจากสารผสมในแต่ละหลอด หยดของเหลวลงในหลอด ทดลองขนาดเล็ก สังเกตลักษณะสารที่ได้และบันทึก ผลการทำกิจกรรม ลักษณะของตัวทำละลาย ตัวละลาย ก่อนใส่ใบผักบุ้งจีน หลังใส่ผักบุ้งจีน น้ำ สารละลายเอทานอล คำถามท้ายกิจกรรม 1. สังเกตสีของน้ำและสารละลายเอทานอล ก่อนและหลังจากบรรจุใบไม้ลงในหลอดทดลอง มีการ เปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ อาจารย์จะเรียกตอบคำถามเเต่ไม่รู้เรื่องเลยค่าา(ตอบไม่ได้เค้าได้0แน่เลยเเงงง)

TikTok al 4G 17:14 @ 1 47% Ao wannisaoor T X 4 ก.ย. 2564 17:13 > ทบทวน บทสารละลาย โดย ครูวรรณนิสา คำชี้แจง จงเขียนเครื่องหมาย หรือ x ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. น้ำแข็ง เมื่อเปลี่ยนเป็น น้ำ แสดงว่ามีการละลายเกิดขึ้น 2. สารละลายประกอบด้วย "ตัวทำละลาย" และ "ตัวละลาย" ร3. สารละลาย มีทั้งที่เป็นสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม 4. สถานะของสารละลายมีทั้งหมด 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส 5. สาร 2 ชนิด เมื่อผสมเป็นเนื้อเดียวกัน แสดงว่า เกิดการละลายกัน 6. สารละลายเป็น ของเหลว เสมอ 7. ตัวละลายต้องมีสถานะเป็นของแข็งเสมอ ..8. สารที่มีสถานะต่างกัน มาละลายซึ่งกันและกัน สารที่มีสถานะเดียวกับสารละลายถือเป็น"ตัวทำละลาย" จ 9. สารที่มีสถาน 10.สารที่มีสถานะเดียวกัน มาละลายซึ่งกันและกัน สารที่มีปริมาณน้อยสุด ถือเป็น "ตัวละลาย" .11 สารละลาย ที่มีสถานะเป็นแก๊ส แก๊สที่มีปริมาณมากที่สุดเป็นตัวทำละลาย 12. สารละลายเกิดจากสาร 2 ชนิดขึ้นไปละลายเข้ากันในอัตราส่วนผสมต่างๆ 13. สารละลายที่มีสถานะเป็นของเหลวจะมีน้ำเป็นตัวทำละลายเสมอ 14. แก๊สมีสภาพละลายได้เพิ่มขึ้น เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น วกัน มาละลายซึ่งกันและกัน สารที่มีปริมาณมากสุด ถือเป็น "ตัวทำละลาย 15. ชนิดของตัวละลาย และตัวทำละลายมีผล ต่อสภาพละลายได้ของสาร ..16. สารละลายที่ตัวละลายไม่สามารถละลายได้หมด ในตัวทำละลายปริมาณหนึ่งๆ เรียกว่า"สารละลายอิ่มตัว" .17. ของเหลวส่วนใหญ่ เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น สภาพละลายได้ลดลง 18. ของเหลวส่วนใหญ่ เมื่ออุณหภูมิลดลง สภาพละลายได้ลดลง 19. ซีเซียมซัลเฟต เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น สภาพละลายได้ ลดลง 20. ความดัน มีผลต่อสภาพละลายได้ ของสารที่เป็นของเหลว .21. ความเข้มข้นของสารละลาย เป็นปริมาณตัวละลายในสารละลาย .22. ความเข้มข้นของสารละลายเป็นปริมาณตัวทำละลายในสารละลาย 23. หน่วยความเข้มข้นมีหลายหน่วย นิยมระบหน่วยเป็นร้อยละ โดยปริมาตรต่อปริมาตร มีในสูตรคำนวณ .24. หน่วยความเข้มข้นมีหลายหน่วย นิยมระบุหน่วยเป็นร้อยละ โดยมวลต่อมวล มีในสูตรคำนวณ .25. หน่วยความเข้มข้นมีหลายหน่วย นิยมระบุหน่วยเป็นร้อยละ โดยมวลต่อปริมาตร มีในสูตรคำนวณ 26. ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร นิยมใช้กับสารละลายที่เป็นของแข็ง .27. ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร นิยมใช้กับสารละลายที่เป็นของเหลวหรือแก๊ส 28. ร้อยละโดยมวลต่อมวล นิยมใช้กับสารละลายที่เป็นของแข็ง .29. ร้อยละโดยมวลต่อมวล นิยมใช้กับสารละลายที่เป็นของเหลวหรือแก๊ส 30. ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร นิยมใช้กับสารละลายที่มีตัวละลายเป็นของแข็งในตัวทำละลาย 31. แก๊สหุงต้ม คือ โพรแพน กับมีแทน 32. ทองเหลือง คือ ทองแดงกับสังกะสี .33. เหรียญบาทคือทองแดงกับเงิน 34. ในส่วนประกอบ ของอากาศ ออกซิเจนเป็นตัวทำละลาย 35. น้ำตาลทราย คือสารละลาย 36. โซเดียมคลอไรด์ คือ สารละลาย 37. น้ำเชื่อม คือสารละลาย 38. การละลายของน้ำแข็ง เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน .39. การละลายของ โชดาไฟในน้ำคือปฏิกิริยาคายความร้อน 40. สารละลายด่างทับทิมเข้มข้นรั้อยละ3 โดยมวลต่อปริมาตรคือด่างทับทิม 3 cm-ในสารละลาย 1,000 1

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

1.เพราะเหตุใดละลายของสารแต่ละชนิดจึงมีการเปลี่ยนแปลงแตกต่างกัน 2.การละลายของสารชนิดใดในน้ำกลั่นที่หลังการละลายมีอุณหภูมิลดลงเพราะเหตุใด 3... อ่านต่อ

บกะแตกต่างจากอุณหภูมิของตัวทำละลายบริสุทธิ์ โดยหลังละลายสารบางชนิ เพราะเหตุใดการละลายของสารแต่ละชนิดจึงมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานแตกต่างกัน การละลายของสารชนิดใดในน้ำกลั่นที่หลังการละลายมีอุณหภูมิลดลง เพราะเหตุโด้ การละลายของสารชนิดใดในน้ำกลั่นที่หลังการละลายมีอุณหภูมิสูงขึ้น เพราะเหตุโด การละลายของสารชนิดใดจัดเป็นการละลายแบบดูดความร้อน และการละลายของสารชนิดใด เป็นการละลายแบบคายความร้อน 1 สรุปผลการทดลองนี้ได้อย่างไร อุณหภูมิของสารละลายที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเพราะเหตุใด ถ้าเปลี่ยนแปลงปริมาณตัวละลาย อุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลงไปหรือไม่

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/7