ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ภาษาไทย มัธยมต้น

อันนี้ตอบอะไรคะ

อ่านข้อความที่กำหนด แล้วตอบคำถามข้อ 5 แม้ชีวิต มีปัญหา มาพานพบ อย่ามัวหลบ หลีก หนีไปไหน จงมุ่งหน้า ฝ่าปัญหา อย่าท้อใจ หนักแค่ไหน ให้มีหวัง ยังก้าวเดิน 5. ใครปฏิบัติตามข้อความข้างต้นได้ถูกต้อง 1) ปรีชาไม่สนใจกับปัญหาที่เกิดขึ้น 2) ปัญญาท้อแท้กับปัญหาที่เกิดขึ้น 3) นิดาลาออกจากงานเพราะมีปัญหา 4) กัลยาฟันฝ่าปัญหาแล้วก้าวเดินต่อไป อ่านข้อความที่กำหนด แล้วตอบคำถามข้อ 6 ช่วงที่ผมกำลัง หลวงพ่อของผม - กับการเตรียมตัวสอบเพื่อเรียนต่อชั้น ม. 1 มีอาการปวดท้องอย่าง 6. ควรเติมคำในข้อใดลงในช่องว่าง 1) คร่ำเคร่ง อาพาธ รุนแรง 3) เคร่งครัด อาพาธ หนักหน่วง 7. ข้อใดใช้คำที่มีความหมายถูกต้องชัดเจนที่สุด 1) สมฤดีเหยียบแมวตาย 2) ตาสมศรีเจ็บขอหยุดหนึ่งวัน 3) สมพรรับประทานข้าวเย็นทุกวัน 4) สมชายไปราชการที่จังหวัดเชียงใหม่ ภาษาไทย ป.6 หน้า 3 2) คร่ำเคร่ง ล้มป่วย รุนแรง 4) เคร่งครัด ล้มป่วย หนักหน่วง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ใครรู้คำตอบบ้างหรอค้า หาคำตอบไม่เจอเลยค่ะ ช่วยหน่อยได้ไหมคะ 🥹🥹

พิจารณาภาษาการประพันธ์ (กําล)สมุด) + บัย 5 * ย เ ไม่ต้องเปลี่ยนเป็น เหตุใดพระนางมัทรีจึงกล่าวเปรียบเทียบตัวพระนางว่า “อุปมาเสมือนหนึ่ง อัด พฤกษาลดาวัลย์ย่อมจะอาสัญลงเพราะลูกเป็นแท้เที่ยง” นักเรียนเข้าใจว่าอย่างไร ๒. อธิบายการใช้กวีโวหารต่อไปนี้ว่าเป็นกวีโวหารแบบใด มีลักษณะอย่างไร “เอ๋ยเคยมาเปี่ยมขอบเป็นไรจึงขอดข้นลงขุ่นหมอง พระพายเจ้าเอ๋ยเคยมาพัดต้อง กลีบอุบล พากลิ่นสุคนธ์ขจรรสมารวยรื่น เป็นไรจึงเสื่อมหอมหายชื่นไม่เปื่อย ยฉ่...” เปรียบเทียบโวหารคร่ำครวญของพระเวสสันดรเมื่อคิดว่าพระนางมัทรีสิ้นพระชนม์ กับโวหารคร่ำครวญของพระรามที่มีต่อนางสีดาในกาพย์นางลอย พระราชนิพนธ์พระบาท สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ๔. วิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์ที่ได้รับจากเรื่องร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สังคมศึกษา มัธยมปลาย

ช่วยเราทำหน่อยค่า คือเราไม่เข้าใจ

ก Vo) 4G 5 เTE1 % l เ2 l 78% Vo) 9:15 - งานที่ 5 มโหสถ.pdf งานที่ 5 มโหสถ คำสั่ง ให้นักเรียนศึกษาเรื่องมหาชนกชาดก แล้วทำงานที่ 5 มโหสถ 1. ชื่อบุคคลเรื่องมโหสถ 1.1 วิเทหะ คือใคร 1.2 ราชบัณฑิต คือใคร 1.3 สิริวัฒนกเศรษฐี คือใคร 1.4 นางสุมนาเทวี คือใคร 1.5 โหรหลวง คือใคร 1.6 มโหสถ คือใคร 1.7 ราชปุโรหิต คือใคร 1.8 พระเจ้ากรุงปัญจาละ คือใคร 2. เล่าลำดับเหตุการณ์ที่แสดงถึงความฉลาดของมโหสถ 3. เล่าลำดับเหตุการณ์วินิจฉัยคดีลักวัว 4. เล่าลำดับเหตุการณ์วินิจฉัยคดีแย่งลูก 5. มโหสถชาดก เป็นทศชาติที่เท่าไร บำเพ็ญบารมีอะไร (ซ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
พระพุทธศาสนา มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ

คำถามประจำหน่วยการเรียนรู้ ๑. เพราะเหตุใดการศึกษาพุทธประวัติจึงจำเป็นต้องมีการวิเคราะห์ด้วย ไม่สามารถตีความ ไปตามตัวอักษรหรือข้อความได้ทั้งหมด ๒. จงสรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติตามประเด็นที่ได้ศึกษามา ๑ ตอน นักเรียนคิดว่าจะนำคุณธรรมของพุทธสาวก พุทธสาวิกา ท่านใดไปใช้เป็นแบบอย่างใน การดำเนินชีวิตและเหตุผลใดจึงเลือกท่านนั้น ๔. จงสรุปประวัติของพระเจ้าอโศกมหาราช หรือพระโสณะและพระอุตตระ พร้อมคุณธรรม ที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง มาพอสังเขป ๕. จากการศึกษาเรื่องอัมพชาดก ติตติรชาดก นักเรียนได้มุมมองหรือข้อคิดอะไรบ้าง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ช่วยเราหน่อยค่ะ ไม่เข้าใจเลยอ่าา ช่วยเราหน่อยน้าา พลีสสส

สัปดาห์ที่ ๕ (๒๗-๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ) ทดสอบ หลังเรียน (บทที่๑)วิชาภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ทำลงบนกระดาษ เอ ๔ หรือ กระดาษรายงาน คำสั่งให้นักเรียนศึกษาเรื่อง ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี แล้วตอบคำถามต่อไปนี้ ๑.การวิวิเคราะห์เรื่อง ให้นักเรียนอ่านบทนำเรื่อง ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี แล้วตอบคำถาม เรื่องร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีมีลักษณะคำประพันธ์เป็น. เประเภท ผู้แต่งเรื่องร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี คือ จุดประสงค์ในการแต่งเรื่องร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี คือ เนื้อหาร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี ให้ความรู้เกี่ยวกับ ๒.การวินิจสาร เรื่อง ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี สรุปใจความสำคัญเรื่อง ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี กล่าวถึง ข้อคิดที่ได้จากเรื่องคือ ๓.การวิจารณ์ เรื่อง ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี ด้านสังคม สะท้อนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ วัฒนธรรม ค่านิยมของคนไทยเรื่องใด สะท้อนเรื่อง.. ด้านวรรณศิลป์ ผู้เขียนได้ใช้กลวิธีใดในการนำเสนอ ด้านแนวคิด ที่ผู้เขียนได้ให้แนวทางในการประพฤติและปฏิบัติตนอะไรบ้างแก่ผู้อ่าน การวิพากย์ ให้นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นประเด็น "เป็นลูกควรปฏิบัติต่อพ่อแม่อย่างไรจึงจะได้ชื่อว่าเป็นผู้กตัญญู" โดยใช้วิธีเขียนแบบเรียงความ ซึ่งมี ๓ ส่วนคือ คำนำ เนื้อเรื่อ สรุป ประมาณ ๕- ๑๐ บรรทัด เกณฑ์การให้คะแนน ๒๐ คะแนน ๑. การตรงต่อเวลา ๒. ลายมือสวยงามสะอาดเรียบร้อย ๔ คะแนน ๓ คะแนน ๓. มีความคิดสร้างสรรค์ ๔. ถูกต้องของผลงาน (เนื้อหา) ๓ คะแนน ๑0 คะแนน นามสกุล. แลขที่ เชั้น เวิชา

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 4
ภาษาไทย มัธยมต้น

ย่อให้หน่อยได้มั้ยคะ🙏

๑.๒ การ สิบสองเหลี่ย เมืองมอญกา การเขียนชี้แจงมีลักษณะคล้ายกับการเขียนอธิบาย คอ บทกลอน อ การเขียนขี้แจง ด้วอยาง ตำราฉันท์ว ยูเนสโกประกาศรับรองจารึกวัดโพธิ์เป็นมรดกความทรงจำแห่งโลก เมื่อวันที่ และจารึกโ ส่า ดำเนินการ แผ่นดินไห มรดกความทรงจำแห่งโลกในทะเบียนนานาชาติแล้ว เมื่อวันที่ ๒๗ พฤษภาคม เมืองแมนเชสเตอร์ สหราชอาณาจักร ที่ผ่านมา มากที่สุด ณ มรดกคา แห่งโลกฯ ประเทศไทย กล่าวว่า จารึกวัดโพธิ์ที่ได้ขึ้นทะเบียนมรดกความทรงจำแห่งโลกมีจำนาน แห่งโลก มีเนื้อหาสาระแยกออกเป็นหมวดหมู่ที่รวบรวมสรรพ ๑,๔๔๐ ชิ้น แบ่งเป็นความเรียงและบทกลอน นานาชา วิชาต่างๆ เพื่อให้ผู้คนทุกชนชั้นได้ศึกษา เช่น ภูมิปัญญาการรักษาโรคด้วยการนวด ซึ่งเป็นความรู้ี่ มีประโยชน์ตกทอดมาถึงคนรุ่นหลัง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้รวบรวบ ความรู้ที่มีตั้งแต่ครั้งกรงศรีอยุธยานำมาจารึกไว้ เพราะเกรงว่าจะสูญหาย "จารึกวัดโพธิ์มีคุณค่าในด้านความเป็นหนึ่งเดียวที่ไม่อาจทดแทนได้ หากสูญหายหรือ เสื่อมสภาพนับเป็นอันตรายใหญ่หลวงต่อมนุษยชาติ หาเอกสารอื่นใดมาเปรียบเทียบไม่ได้ ด้าน ความเป็นของแท้ ไม่ใช่ลอกเลียนหรือของปลอม และด้านความเป็นสากล คือเป็นเอกสารที่ผลิตขึ้น ในช่วงเวลาสำคัญในอดีต และมีความสำคัญต่อเนื่องยั่งยืนตลอดไป ไม่ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงทาง สังคมและวัฒนธรรม โดยเฉพาะเรื่องฤๅษีดัดตนเป็นความรู้ที่สากลมาก" คุณหญิงแม้นมาสกล่าว เนื้อหาจารึกวัดโพธิ์แบ่งเป็นหมวดประวัติศาสตร์ มีจารึกรัชกาลที่ 9 เรื่องสร้างวัดพระเชตุพนฯ จารึกรัชกาลที่ ๑ เรื่องพระธาตุนครน่าน รายการปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนฯ ถอดจากโคลงดัน และ รายการแบ่งด้านปฏิสังขรณ์ถอดจากโคลง หมวดพระพุทธศาสนา มีจารึกเรื่องพระสาวกเอตทัคคะ จารึกเรื่องอุบาสกเอตทัคคะ จารึกเรื่องอุบาสิกาเอตทัคคะ จารึกเรื่องอศุภ ๑๐ และญาณ ๑๐ จารึกเรื่องฎีกาพาหุง จารึกเรื่องพระพุทธบาท จารึกเรื่องธุดงค์ ๑๓ จารึกเรื่องชาดก ตอนนิทานกถา จารึกเรื่องมหาวงศ์ จารึกเรื่องนิรกถา และจารึกเรื่องเปรตกถา ที่ผ่านม ของภูมิ แห่งชา และจั จารึก เมื่อเค รีย ควาะ เป็น ลักษ โดย WEB GUIDE http://www.aksorn.com/LC/Thai_Gra/M3/11 อบอจ. ราชธานี

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/5