ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

4. แรงยึดเหี่ยวซึ่งเกิดขึ้นระหว่างโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ได้แก่แรงชนิดใดบ้าง และแรงต่าง ๆ มีลักษณะ อย่างไร 5. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูกเขียนเครื่องหมาย / หรือข้อใดผิดเขียนเครื่องหมาย X สาเหตุที่ทำให้จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารประกอบโคเวเลนซ์ต่ำ เพราะ แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง โมเลกุลต่ำ สารประกอบโคเวเลนต์นำไฟฟ้าในสถานะแก๊สเท่านั้น สารประกอบโคเวเลนต์มีทิศทางของพันธะไม่แน่นอน แต่มีรูปร่างโมเลกุลแน่นอน การเกิดปฏิกิริยาของสารประกอบโคเวเลนต์จะเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ สารประกอบโคเวเลนต์ส่วนใหญ่ละลายน้ำได้น้อย สารโคเวเลนต์ไม่มีขั้ว จะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวต่ำ ๆ เพราะโมเลกุลยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงลอนดอน อย่างเดียวเท่านั้น โครงสร้างเป็นโครงผลึกร่างตาข่าย เช่น เพชร แกรไฟต์ จะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูง

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ เราไม่เข้าใจ

ใบงาน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงขีดเส้นใต้คำที่อยู่ในวงเล็บที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้มีความถูกต้อง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุต่าง ๆ ระหว่างอโลหะกับ (โลหะ/อโลหะ) โดย เกิดการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ ๆ เมื่ออะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน จะทำให้อะตอมมีความ (เสถียร/อิสระ) มากขึ้น การที่อะตอมจะมี มีลักษณะดังกล่าวได้ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน/อิเล็กตรอน) ต้องมีค่า เท่ากับ 8 เหมือน (ธาตุแฮโลเจน/แก๊สเฉื่อย) โดยการรวมกันเป็นโมเลกุลของธาตุ อะตอมของธาตุจะเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันทำให้เกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง และเกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนอะตอมหนึ่งกับโปรตอนในนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง ซึ่ง เมื่ออะตอมทั้งสองเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันมีระยะห่างระหว่างนิวเคลียสมีความเหมาะสมในการเกิดพันธะ พบว่า แรงดึงดูดมีค่าเท่ากับแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของอะตอมมีค่า (ลดลง/เพิ่มขึ้น) 2. พันธะโคเวเลนต์ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ 3. จงเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ไนโตรเจนไตรคลอไรต์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ สอบถามผู้รู้ค่ะ

ใบงาน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงขีดเส้นใต้คำที่อยู่ในวงเล็บที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้มีความถูกต้อง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุต่าง ๆ ระหว่างอโลหะกับ (โลหะ/อโลหะ) โดย เกิดการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ ๆ เมื่ออะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน จะทำให้อะตอมมีความ (เสถียร/อิสระ) มากขึ้น การที่อะตอมจะมี มีลักษณะดังกล่าวได้ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน/อิเล็กตรอน) ต้องมีค่า เท่ากับ 8 เหมือน (ธาตุแฮโลเจน/แก๊สเฉื่อย) โดยการรวมกันเป็นโมเลกุลของธาตุ อะตอมของธาตุจะเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันทำให้เกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง และเกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนอะตอมหนึ่งกับโปรตอนในนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง ซึ่ง เมื่ออะตอมทั้งสองเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันมีระยะห่างระหว่างนิวเคลียสมีความเหมาะสมในการเกิดพันธะ พบว่า แรงดึงดูดมีค่าเท่ากับแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของอะตอมมีค่า (ลดลง/เพิ่มขึ้น) 2. พันธะโคเวเลนต์ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ 3. จงเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ไนโตรเจนไตรคลอไรต์

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ🥺🙏

7. คำชี้แจง : นำข้อมูลที่กำหนดให้เติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ประจุ มวล ต่ำ สูง โปรตอน นิวตรอน อิเลคตรอน หน้า 2 โพสิตรอน อนุภาคแอลฟา อนุภาคเบต้า อนุภาคแกมมา คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสี ธาตุกัมมันตังสี 1) ธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะในธรรมชาติ บางชนิดสามารถแผ่รังสีได้อย่างต่อเนื่อง เรียกว่า 2) เคือรังสีที่แผ่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี ซึ่งมี 3 ชนิดได้แก่ , 3) อนุภาคแอลฟาเป็นอนุภาคที่มี เมื่อผ่านไปในสนามแม่เหล็กจะเบี่ยงเบนเข้าหาสนามแม่เหล็กขั้วลบ มีอำนาจทะลุทะลวง ทะลุผ่านกระดาษบางๆ ได้ และ อย่างละ 2 อนุภาคแต่ไม่มี ไม่อาจ 4) เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสที่มีจำนวน มากเกินไปหรือน้อยเกินไปมี อำนาจทะลุทะลวง.. กว่ารังสีแอลฟาประมาณ 100 เท่า ไม่สามารถทะลุผ่านแผ่นอะลูมิเนียมหนา 2 และบีตา บวก หรือ มิลลิเมตรได้แบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ บีตา ลบหรือ จึงไม่เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็กมีสมบัติเป็น กว่ารังสีบีดา ไม่สามารถทะลุ 5) รังสีแกมมา เป็นอนุภาคที่ไม่มี และ ความยาวคลื่นสั้น ทำให้มีอำนาจทะลุทะลวง ผ่านแผ่นตะกั่วหนา 10 เซนติเมตรได้

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
PromotionBanner
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ🥺🙏

7. คำชี้แจง : นำข้อมูลที่กำหนดให้เติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ประจุ มวล ต่ำ สูง โปรตอน นิวตรอน อิเลคตรอน หน้า 2 โพสิตรอน อนุภาคแอลฟา อนุภาคเบต้า อนุภาคแกมมา คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสี ธาตุกัมมันตังสี 1) ธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะในธรรมชาติ บางชนิดสามารถแผ่รังสีได้อย่างต่อเนื่อง เรียกว่า 2) เคือรังสีที่แผ่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี ซึ่งมี 3 ชนิดได้แก่ , 3) อนุภาคแอลฟาเป็นอนุภาคที่มี เมื่อผ่านไปในสนามแม่เหล็กจะเบี่ยงเบนเข้าหาสนามแม่เหล็กขั้วลบ มีอำนาจทะลุทะลวง ทะลุผ่านกระดาษบางๆ ได้ และ อย่างละ 2 อนุภาคแต่ไม่มี ไม่อาจ 4) เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสที่มีจำนวน มากเกินไปหรือน้อยเกินไปมี อำนาจทะลุทะลวง.. กว่ารังสีแอลฟาประมาณ 100 เท่า ไม่สามารถทะลุผ่านแผ่นอะลูมิเนียมหนา 2 และบีตา บวก หรือ มิลลิเมตรได้แบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ บีตา ลบหรือ จึงไม่เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็กมีสมบัติเป็น กว่ารังสีบีดา ไม่สามารถทะลุ 5) รังสีแกมมา เป็นอนุภาคที่ไม่มี และ ความยาวคลื่นสั้น ทำให้มีอำนาจทะลุทะลวง ผ่านแผ่นตะกั่วหนา 10 เซนติเมตรได้

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/2