ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะพี่ๆ🙏🏻

สมบัติของแอลเคนและไซโคลแอลเคน 1. สภาพละลายได้ แอลเคนและไซโคลแอลเคน เป็นโมเลกุลไม่มีขั้วจึงไม่ละลายน้ำ แต่ละลายในทำละลายมีขั้ว 2. สถานะ 1 - 2, แก๊ส 2 - 1 ของเหลว C1 ขึ้นไป ของแข็ง 3. จุดเดือด แอลเคนโซ่ตรง เมื่อมวลโมเลกุลเพิ่มขึ้น จุดเดือดเพิ่มขึ้น หรือ คาร์บอน เพิ่มขึ้น จุดเดือดเพิ่มขึ้น แอลเคน โซ่กิ่ง จุดเดือดจะลดลง ส่วนไซโคลแอลเคน จุดเดือด สูงกว่า แอลเคนโซ่ตรง ตัวอย่าง tu C จุดเดือดสูงสุด คือ A B 4. กรณีโซ่ตรง จุดหลอมเหลวเพิ่มขึ้น เมื่อจำนวนคาร์บอนเพิ่มขึ้น โซ่กิ่ง ค่อนข้างจะทำนายยาก ยกเว้นรูปร่างสมมาตร ไซโคลแอลเคน จุดหลอมเหลว สูงกว่าโซ่ตรง 5. ความหนาแน่น แอลเคนและไซโคลแอลเคนจะมีความหนาแน่นน้อยที่สุดกว่าสารอินทรีย์ทุกชนิด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ทุกคนเราทำมธถูกก

1. Ga กิจกรรมที่ 2 : สนุกคิดหาค่าตอบ 27 คำชี้แจง : ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ และตอบว่าขอใดเป็นนิยามเชิงปฏิบัติการหรือนิยามทั่วไป แต่ละโมเลกุลประกอบด้วยธาตุออกซิเจน 2 อะตอม d do 2. ออกซิเจนเป็นแก๊สชนิดหนึ่งที่ช่วยให้เกิดการเผาไหม้ ถ้าเรานํากานธูปที่ติดไฟเกือบจะมอดแล้ว แทยอ กระบอกที่มีแก๊สออกซิเจนอยู่ ก้านธูปจะลุกเป็นเปลวไฟขึ้นมา 3. ตัวนำไฟฟ้า คือ วัตถุที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ง่าย เพราะมีค่าความต้านทานไฟฟ้าต่ำ เมื่อนำมาเป็น ตัวนำไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าก็จะทำงานได้ตามปกติ วัตถุที่นำไฟฟ้าได้ดีส่วนมากจะเป็นโลหะ เช่น เงิน ทองแดง ทอง อลูมิเนียม แพลทินัม เป็นต้น 4. นกเป็นสัตว์ชนิดหนึ่ง มี 2 ขา บินได้ สืบพันธุ์โดยการวางไข่ 5. วัตต์ เป็นหน่วยวัดค่ากำลังไฟฟ้า 6. ความหนาแน่น ผลลัพธ์ที่ได้จากการหาค่าอัตราส่วนระหว่างมวลของวัตถุ ซึ่งมีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับปริมาตร ซึ่งมีหน่วยเป็น ลูกบาศก์เมตร เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดการลอยหรือจมของวัตถุ โดยวัตถุที่มีความหนาแน่นน้อย มีแนวโน้มจะลอยอยู่บนวัตถุที่มีความหนาแน่นมากกว่า คำชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนนิยามเชิงปฏิบัติการของคำที่กำหนด 1. นิยามเชิงปฏิบัติคำว่า “ก้านไม้ 2. นิยามเชิงปฏิบัติคำว่า “แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 3. นิยามเชิงปฏิบัติคำว่า “วัชพืช”

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

เหลืออยู่แค่ 2 หน้านี้ ไม่เข้าใจว่าทำยังไง ช่วยหน่อยได้ไหมคะ ต้องส่งภายในวันนี้ TT

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมี 1 (231122) บทที่ 3 หน้า 34 1.3 SB 1.5 C3H4 1. จงเขียนสูตรแบบจุด และแบบเส้นแสดงพันธะโคเวเลนต์ของสารต่อไปนี้ ตามกฎออกเดต สูตรสารประกอบโคเวเลนต์ 1.1 Br2 1.2 CS2 1.4 C2H6 เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาเคมี 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 บทที่ 3 (231122) ใบงานที่ 10 เรื่อง การเขียนสูตรและอ่านชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยรังสิต สูตรแบบจุด โดยอนุโลมว่าการรวมตัวเป็นไป สูตรแบบเส้น 20 2 เขียนสูตรโมเลกุล สูตรแบบจุด และสูตรแบบเส้นของสารประกอบระหว่างธาตุต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล สูตรแบบจุด ธาตุ 21 ไฮโดรเจน กับซีลีเนียม 22 ไอโอดีน กับอาร์เซนิก 2.3 ไนโตรเจน กับคลอรีน 24 ซิลิคอน กับไฮโดรเจน 2.5 ออกซิเจน กับคลอรีน 2.6 โบรอน กับฟลูออรีน 3. ธาตุใดต่อไปนี้ทำปฏิกิริยากันแล้วได้สารประกอบโคเวเลนต์ ก. โซเดียวกับออกซิเจน ข. ซิลิคอนกับออกซิเจน XX เหล็กกับคลอรีน ง. คลอรีนกับโบรมีน จ. คาร์บอนกับกำมะถัน หนา 35 สูตรแบบเส้น

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
PromotionBanner
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยครับ

ตอนที่ 2 จากภาพโครงสร้างต่อไปนี้ จงตอบคำถามให้ถูกต้อง (สามารถตอบได้มากกว่า 1 ข้อและสามารถตอบ ซ้ำได้) -875- te Carboxylic CH₂OH OH H H OH ⓇM H Side chain H -NH₂ ⒸOO E D-pleated sheet Amine ©p @ Phoshate ********************* Sugar 3.48 OH mada 39 booooo00 00000000000 Booogo viso Baaaaaaa 1. หน่วยย่อย (Monomer) ที่เล็กที่สุดของคาร์โบไฮเดรต 2. หน่วยย่อย (Monomer) ที่เล็กที่สุดของโปรตีน 3. เป็นโครงสร้างหลักของ cell wall 4. มีหน่วยย่อย (Monomer) เป็นน้ำตาล glucose 5. โครงสร้างของพอลิแซ็กคาไรด์ที่เป็นองค์ประกอบของแป้ง 6. โครงสร้างของพอลิแซ็กคาไรด์ที่พบในเซลล์กล้ามเนื้อ 7. โครงสร้างของโปรตีนที่พบใน keratin และ fibroin 8. โครงสร้างของสารใดที่มีธาตุ CHON เป็นองค์ประกอบหลัก 9. พอลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharide) 10. มีหมู่คาร์บอกซิลและหมู่อะมิโนเป็นหมู่ฟังก์ชัน booooo aaaaaa **************** โชคดีจ้า CH,

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

อันนี้สงสัยจริงๆค่ะ ว่าถ้าปฏิกิริยาเคมีแล้วสสารมวลเพิ่ม ไม่เป็นไปตามกฏทรงมวล?! ถูกต้องรึเปล่าคะะ??? 😖 ;^; ใครรู้ช่วยด้วยค่าา อยากรู้มากเล... อ่านต่อ

ระเบด นักเรียนคนหนึ่งตั้งน้ำปูนใสไว้ในภาชนะเปิด พบว่าเกิดตะกอนสีขาว เนื่องจาก แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศลงไปทำปฏิกิริยากับน้ำปูนใส ได้ผลิตภัณฑ์เป็น แคลเซียมคาร์บอเนตซึ่งไม่ละลายในน้ำ เมื่อนำไปชั่งพบว่ามวลรวมที่ได้หลังจาก น้ำปูนใสเกิดตะกอนสีขาวจะเพิ่มขึ้น นักเรียนคนนี้กล่าวว่าปฏิกิริยาดังกล่าวไม่เป็นไป ตามกฎทรงมวล ข้อสรุปดังกล่าวถูกต้องหรือไม่ อย่างไร มาแล้วว่า มวลรวมของสารก่อนและหลังเกิดปฏิกิริยาเคมีคงที่ รู้หรือไม่ว่าการเกิดปฏิกิริยาเคมีเกี่ยวข้อง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยทีค่ะ

1 แบบสอบปรนัยและอัตนัยเพื่อพัฒนาทักษะกระบ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สารและสมบัติของสาร หน้าคำตอบที่ถูกต้องให้เต็มวง 2 ตอนที่ 1 นักเรียนใช้ดินสอระบายลงใน 1. ข้อใดไม่ใช่สมบัติทางกายภาพของสาร สถาน การนำไฟฟ้า ถ้านักเรียนจำแนกประเภทของสารออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ (2) ความหนาแน่น 4) การติดไฟ กลุ่มที่ 1 กำมะถัน น้ำตาลทราย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ กลุ่มที่ 2 น้ำโคลน น้ำเกลือ อากาศ เกณฑ์ที่ใช้ในการจำแนกสารออกเป็น 2 กลุ่มดังกล่าวคือข้อใด (1) สถานะ 2 ลักษณะเนื้อสาร ขนาดอนุภาคของสาร 4, จำนวนชนิดของสารองค์ประกอบ เมื่อนำสาร A มาทดลองหาจุดเดือด พบว่าจุดเดือดของสาร A ไม่คงที่ ข้อสรุปใดถูกต้องที่สุด สาร A เป็นสารโลหะ สาร A เป็นสารผสม 3 สาร A เป็นสารบริสุทธิ์ (4) สาร A เป็นสารเนื้อเดียว คะแนนเพิ่ม สารผสมจุดเดือดคงที่ แต่สารบริสุทธิ์จุดเดือดไม่คงที่ สมบัติเกี่ยวกับจุดเดือดของสารผสม (mixtures) และสารบริสุทธิ์ (pure substances) ข้อใด 2) สารผสมจุดเดือดไม่คงที่ แต่สารบริสุทธิ์จุดเดือดคงที่ 3) ทั้งสารผสมและสารบริสุทธิ์มีจุดเดือดไม่คงที่ 4) ทั้งสารผสมและสารบริสุทธิ์มีจุดเดือดคงที่

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยทีค่ะ

1 แบบสอบปรนัยและอัตนัยเพื่อพัฒนาทักษะกระบ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สารและสมบัติของสาร หน้าคำตอบที่ถูกต้องให้เต็มวง 2 ตอนที่ 1 นักเรียนใช้ดินสอระบายลงใน 1. ข้อใดไม่ใช่สมบัติทางกายภาพของสาร สถาน การนำไฟฟ้า ถ้านักเรียนจำแนกประเภทของสารออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ (2) ความหนาแน่น 4) การติดไฟ กลุ่มที่ 1 กำมะถัน น้ำตาลทราย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ กลุ่มที่ 2 น้ำโคลน น้ำเกลือ อากาศ เกณฑ์ที่ใช้ในการจำแนกสารออกเป็น 2 กลุ่มดังกล่าวคือข้อใด (1) สถานะ 2 ลักษณะเนื้อสาร ขนาดอนุภาคของสาร 4, จำนวนชนิดของสารองค์ประกอบ เมื่อนำสาร A มาทดลองหาจุดเดือด พบว่าจุดเดือดของสาร A ไม่คงที่ ข้อสรุปใดถูกต้องที่สุด สาร A เป็นสารโลหะ สาร A เป็นสารผสม 3 สาร A เป็นสารบริสุทธิ์ (4) สาร A เป็นสารเนื้อเดียว คะแนนเพิ่ม สารผสมจุดเดือดคงที่ แต่สารบริสุทธิ์จุดเดือดไม่คงที่ สมบัติเกี่ยวกับจุดเดือดของสารผสม (mixtures) และสารบริสุทธิ์ (pure substances) ข้อใด 2) สารผสมจุดเดือดไม่คงที่ แต่สารบริสุทธิ์จุดเดือดคงที่ 3) ทั้งสารผสมและสารบริสุทธิ์มีจุดเดือดไม่คงที่ 4) ทั้งสารผสมและสารบริสุทธิ์มีจุดเดือดคงที่

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
แผนการเรียน มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

แบบทดสอบ ท้ายหน่วย 4 ตอนที่ 1 คำชี้แจง : เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว พิจารณาภาพ แล้วตอบคําถามข้อ 1. - 2 ตะกอนธารน้ำแข็ง หินใน 1. หินไนส์ 3. หินดินดาน 5. หินแกรนิต 2. จากวิธีการหาอายุเปรียบเทียบ 3 หินดินดาน 1. จากวิธีการหาอายุเปรียบเทียบ หินชนิดใดมีอายุมากที่สุด 2. หินทราย 4. หินไดโอไรต์ 5 หินทราย หินไคโอไรด์ 1. หินไนส์ 3. หินดินดาน AKSOR ภาพที่กำหนดให้ ถ้าใช้วิธีการหาอายุเปรียบเทียบ ชั้นหิน X น่าจะมีอายุเท่ากับชั้นหินใด 2. หินทราย AKSO หินชนิดใดมีอายุน้อยที่สุด 4. หินไดโอไรต์ ได้คะแนน คะแนนเต็ม 20 ORNA AKSORN 2. 20 กรัม 4. 40 กรัม 1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 5. 5 4. ถ้ารูบิเดียม - 87 มีปริมาณตั้งต้น 40 กรัม เมื่อผ่านครึ่งชีวิตไป 2 ครั้ง จะมีปริมาณรูบิเดียม - 87 เหลืออยู่กี่กรัม 1. 10 กรัม 3. 30 กรัม 5. 50 กรัม

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/20