ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ภาษาไทย มัธยมต้น

สรุปเนื้อหา

คำที่ใช้ในกฎเกณฑ์ของฉันทลักษณ์ ๑. คำที่ใช้ในกฎเกณฑ์ของฉันทลักษณ์มีความหมายและลักษณะที่ต้องพิจารณาดังนี้ ความหมายของคำในกฎเกณฑ์ของฉันทลักษณ์ มี ๒ ความหมาย ๑.๑ คำ หมายถึง หน่วยย่อยที่สุดของฉันทลักษณ์ และเป็นส่วนย่อย ของวรรค คำ ๑ พยางค์ สามารถนับเป็น ๑ คำได้ การนับคำในทางฉันทลักษณ์ จะแตกต่างจากการนับคำในทางไวยากรณ์ซึ่งถือตามความหมาย ตัวอย่างเช่น คำว่า พยายาม ในทางไวยากรณ์นับเป็น ๓ พยางค์ แต่ถือว่าเป็น ๑ คำ เพราะมีความหมายเดียว ส่วนในทางฉันทลักษณ์คำว่า พยายาม สามารถนับเป็น ๒ คำ หรือ ๓ ค่ำ ก็ได้ เพราะในทางฉันทลักษณ์ ๑ ค่ำ จะนับเป็น ๑ พยางค์ หรือ ๑ จังหวะที่ลงเสียงหนัก ดังนั้นจำนวนคำจึงอาจเปลี่ยนแปลงได้เพื่อให้สัมพันธ์กับ กฎเกณฑ์ของฉันทลักษณ์แต่ละชนิด อาทิ กลอนสุภาพกำหนดให้แต่ละวรรคมีคำ จำนวน ๗-๙ คำ กาพย์ยานีกำหนดให้วรรคหน้ามี ๔ คำ และวรรคหลังมี 5 ค่ำ เป็นต้น

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ทำไปเเล้วบางข้อช่วยดูให้หน่อยได้ไหมคะว่าทำถูกหรือป่าว เเต่ว่าเหลือข้อ 20 21 27 28 สี่ข้อนี้ช่วยด้วยได้ไหมคะ 🙏🙏🙏

แบบทดสอบวิชาภาษาไทย ต๑๑๐๒ คำสั่ง ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย * ทับคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว ๑. หน่วยเสียงคืออะไร (ก.) เสียงที่คนในกลุ่มนั้น ๆ ออกได้ทั่วกัน ค. เสียงที่คนออกเสียงได้และมีความหมายในภาษา ๒. หน่วยเสียงเมื่อรวมกันหลายหน่วยเสียงจะเป็นอะไร ก.) หน่วยคํา ก. ตา กับ ป่า ๕. หน่วยเสียงสระมีลักษณะพิเศษอย่างไร ข. หน่วยวลี ๓. ข้อใดแสดงความแตกต่างระหว่างเสียง // กับเสียง // ก. แก กับ แม่ ข. กับ กับ มัด ๔. ข้อใดแสดงความแตกต่างระหว่างเสียงวรรณยุกต์สามัญกับเสียงวรรณยุกต์เอก ข. จำ กับ ก. เส้นเสียงจะแยกจากกัน ค. กระแสลมจะถูกกักในช่องปาก 5. หน่วยเสียงในภาษาไทยมีทั้งหมดกี่หน่วยเสียง ก. ๓ หน่วยเสียง ข. 4 หน่วยเสียง ๗. หน่วยเสียงสระในตำราหลักภาษาไทยเก่าเรียกว่าอย่างไร ก. เสียงก ข.) เสียงแท้ 4. คำใดออกเสียงหน่วยเสียงสระ “อะ” ทุกพยางค์ ก. บวร ข. นคร ๔. คำว่า “ฤทธิ์” ออกเสียงหน่วยเสียงสระอะไร ก. อะ ๑๐. คำว่า “คน” ออกเสียงหน่วยเสียงสระอะไร ก. อะ ข. ออ ๑๑. คำว่า “คณะ” พยางค์ “ค” ใช้สระประเภทใด ก. สระลดรูป ข. สระลบรูป ๑๒. คำว่า “ได้” ออกเสียงหน่วยเสียงสระอะไร ข.) อา ๑๓. คำใดออกเสียงหน่วยเสียงสระ “อะ” ทุกคำ ก. อะ ข. คำที่มีความหมายที่รู้กันในภาษานั้น ๆ ง. เสียงย่อยที่สุดที่สามารถแยกความหมายของคำได้ ก. เขา พญา ไว้ ๑๔. คำในข้อใดมีคำที่ออกเสียงสระ ก. พฤต เรื่อง หน่วยเสียง และเสียงสระในภาษาไทย ข. วจนะ ทำ คฤห “อิ ข. ตฤณ ค. หน่วยประโยค ค. กัน กับ มัน ค.) ปา กับ ป่า ค.) ๕ หน่วยเสียง ค. เสียงแปร ขอวัยวะทำเสียงไม่กระทบกัน ง. ปอดจะดันกระแสลมออกมาอย่างแรง (ค.) สังสรรค์ ค. อี ค. โอะ ค. สระคงรูป ค. ไอ ค. กรรม ฉัน ใกล้ ง. หน่วยข้อความ ค. พฤกษ์ ง.) กีด กับ มีด ง. มา กับ หมา ง. 5 หน่วยเสียง ง. เสียงดนตรี ง. คนธรรพ์ ง. ไม่มีเสียงสระ ง. สระเปลี่ยนรูป ง. อำ ง. ขำ ใจ ธรรม ง. หฤโหด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
PromotionBanner
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยทำหน่อยค่ะ เรื่องปฏิกิริยาเคมี

กิจกรรมที่ 6 การเปลี่ยนแปลงใดต่อไปนี้เกิดปฏิกิริยาเคมี ใส่น้ำแข็งในน้ำอัดลม * การเผาผลาญอาหารในร่างกาย *การติดไฟของน้ำมันเชื้อเพลิง * การบูรระเหิดเมื่อได้รับความร้อน * การบ่มผลไม้ให้สุก - การเติมสารกันบูดในน้ำหวาน * กระดาษลิตมัสเปลี่ยนจากแดงเป็นน้ำเงิน การสกัดสีจากดอกบานไม่รู้โรยด้วยเอทานอล วิตามินซีในน้ำมะนาวสลายตัวเมื่อได้รับความร้อน การทำนาเกลือ การเผาแก๊สบนเตาหุงต้ม - ใส่โซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในน้ำ *การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช การเปลี่ยนแปลงที่เกิดปฏิกิริยาเคมี ได้แก่

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมต้น

อันนี้หนูไม่เข้าใจ

25) ข้อใดมีคำสมาส 19) คำดั้งเดิม เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่าอะไร 2. คำมูล 4. คำซ้ำ 3. คำซ้อน 1. คำประสม 20) หากนักเรียนจะเขียนจดหมายถึงครู อาจารย์ ควรจะเขียนคำขึ้นต้นว่าอย่างไร 1. กราบเท้า... ที่เคารพอย่างสูง 2. เรียน... เรียน. ที่เคารพอย่างสูง 3. กราบเรียน.. ที่เคารพอย่างสูง 4. สวัสดีครับ... สวัสดีค่ะ... 21) "โอ่งชอบเดินเล่นเวลาเย็นๆ" มีการใช้คำซ้ำแบบใด 2. บอกความหมายไม่เจาะจง 1. ลดความหมายของคำเดิม 3. เน้นความหมายของคำเดิม 4. บอกความหมายแยกเป็นส่วนๆ 22) ข้อใดไม่ใช่คำประสม 1. พ่อครัว พ่อตา 2. น้ำส้ม น้ำใจ 3. ผู้ใหญ่ ผู้คน 4. นักเรียน นักร้อง 23) ส้มนั่งฟังบรรยายเรื่องทักษะการเขียนอยู่ในห้องประชุม แต่จับใจความได้บ้างไม่ได้บ้าง เพราะลำโพงมีเสียงแทพ อยู่บ่อยครั้ง จากเหตุการณ์นี้อุปสรรคในการส่งสารคือข้อใด 1. ผู้ส่งสาร 2. ผู้รับสาร 4. สื่อ 3. สาร 24) "การวิเคราะห์ผู้ฟัง" คือคุณสมบัติของทักษะใด 1. ทักษะการพูด 2. ทักษะการเขียน 3. ทักษะการฟัง 4. ทักษะการอ่าน 1. มโหสถ ชโลทร 2. พุทธานุภาพ ธันวาคม 4. ทุรชน วชิราวุธ 3. คุณภาพ มัคคุเทศก์ 26) "กิจวัตร วิทยาคม ราชวัง" คือคำใดตามลำดับ 1. คำสมาส คำสนธิ คำสมาส 2. คำสมาส คำสนธิ คำประสม 3. คำสนธิ คำสมาส คำประสม 4. คำประสม คำสนธิ คำสมาส 27) พรรณ หมายถึง ชนิด, สีของผิว พันธ์ หมายถึง ข้อผูกมัด พัน หมายถึง การวงรอบ จากคำข้างต้นคือคำตามข้อใด 1. คำพ้องเสียง 2. คำพ้องรูป 3. คำพ้องความ 4. คำพ้องรูปเสียง สรุปเข้ม 0-NET ม.3 พิชิตสอบเข้า ม.4 มั่นใจเต็ม 100

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมต้น

อันนี้ทำยังไงหรอคะ😊😊

25) ข้อใดมีคำสมาส 19) คำดั้งเดิม เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่าอะไร 2. คำมูล 4. คำซ้ำ 3. คำซ้อน 1. คำประสม 20) หากนักเรียนจะเขียนจดหมายถึงครู อาจารย์ ควรจะเขียนคำขึ้นต้นว่าอย่างไร 1. กราบเท้า... ที่เคารพอย่างสูง 2. เรียน... เรียน. ที่เคารพอย่างสูง 3. กราบเรียน.. ที่เคารพอย่างสูง 4. สวัสดีครับ... สวัสดีค่ะ... 21) "โอ่งชอบเดินเล่นเวลาเย็นๆ" มีการใช้คำซ้ำแบบใด 2. บอกความหมายไม่เจาะจง 1. ลดความหมายของคำเดิม 3. เน้นความหมายของคำเดิม 4. บอกความหมายแยกเป็นส่วนๆ 22) ข้อใดไม่ใช่คำประสม 1. พ่อครัว พ่อตา 2. น้ำส้ม น้ำใจ 3. ผู้ใหญ่ ผู้คน 4. นักเรียน นักร้อง 23) ส้มนั่งฟังบรรยายเรื่องทักษะการเขียนอยู่ในห้องประชุม แต่จับใจความได้บ้างไม่ได้บ้าง เพราะลำโพงมีเสียงแทพ อยู่บ่อยครั้ง จากเหตุการณ์นี้อุปสรรคในการส่งสารคือข้อใด 1. ผู้ส่งสาร 2. ผู้รับสาร 4. สื่อ 3. สาร 24) "การวิเคราะห์ผู้ฟัง" คือคุณสมบัติของทักษะใด 1. ทักษะการพูด 2. ทักษะการเขียน 3. ทักษะการฟัง 4. ทักษะการอ่าน 1. มโหสถ ชโลทร 2. พุทธานุภาพ ธันวาคม 4. ทุรชน วชิราวุธ 3. คุณภาพ มัคคุเทศก์ 26) "กิจวัตร วิทยาคม ราชวัง" คือคำใดตามลำดับ 1. คำสมาส คำสนธิ คำสมาส 2. คำสมาส คำสนธิ คำประสม 3. คำสนธิ คำสมาส คำประสม 4. คำประสม คำสนธิ คำสมาส 27) พรรณ หมายถึง ชนิด, สีของผิว พันธ์ หมายถึง ข้อผูกมัด พัน หมายถึง การวงรอบ จากคำข้างต้นคือคำตามข้อใด 1. คำพ้องเสียง 2. คำพ้องรูป 3. คำพ้องความ 4. คำพ้องรูปเสียง สรุปเข้ม 0-NET ม.3 พิชิตสอบเข้า ม.4 มั่นใจเต็ม 100

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มหาวิทยาลัย

ทำอนุทิน เรื่อง ภาษากับการสื่อสาร ใครพอจะมีแบบไหมค่ะ

แl 21:18ง เสร็จสิ้น หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสา.. Q หน่วยที่ ๑ กาษากับการสื่อสาร ภา อาจารย์ชลธิชา นำนา - - คำถาม : ภาษาเกิดขึ้นเอง เช่นเดียวกับการเดิน วิ่ง ร้องไให้ หัวเราะ ใช่หรือไม่ ตอบ: ไม่ใช่ เพราะภาษาของมนุษย์ไม่ได้เกิดจากสัญชาตญาณ แต่เกิดจากการเรียนรู้ คำถาม : ภาษาถ่ายทอดทางพันธุกรรม ใช่หรือไม่ T แทน แอลลีลของมนุษย์ที่มีผมหยักศก t แทน แอลลีลของมนุษย์ที่มีผมตรง รุ่นพ่อแม่ + T เซลล์สืบพันธุ์ + รุ่นลูก * Tะ ตอบ: ไม่ใช่ ภาษาไม่สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ แต่การพูดชัด หรือทักษะการใช้ภาษาที่ดีเกิดจากการเรียนรู้และฝึกฝน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค้าบ🥲

ใบงานเรื่อง รู้รอบไตรภูมิพระร่วง ตอนที่ 1 คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. เรื่อง ไตรภูมิพระร่วง เรียกอีกชื่อหนึ่งว่าอะไร 2. เรื่อง ไตรภูมิพระร่วง แต่งขึ้นในสมัยใด 3. กวีผู้ประพันธ์เรื่อง ไตรภูมิพระร่วง คือใคร 4. เรื่อง ไตรภูมิพระร่วง แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทใด 5. ไตรภูมิ หมายถึงอะไร 6. มนุสสภูมิ อยู่ในภูมิใด 7. เรื่อง ไตรภูมิพระร่วง บรรยายว่า "มนุสสภูมิ" ประกอบด้วยกี่ทวีป ทวีปใดบ้าง ตอนที่ 2 คำชี้แจง ให้นักเรียนบอกความหมายของคำที่ขีดเส้นใต้ให้ถูกต้อง 1. ผิรูปอันจะเกิดเป็นชายก็ดีเป็นหญิงก็ดี เกิดมีอาทิแต่เกิดเป็นกลละนั้นโดยใหญ่แต่ละวันแลน้อย กลละ หมายถึง 3. จะงอยไส้ตือนั้นกลวงขึ้นไปเบื้องบนติดหลังท้องแม่แลข้าวน้ำอาหารอันใดแม่กินไสร้ แลโอชารสนั้นก็เป็นน้ำชุ่มเข้า ไปในไส้คือนั้น จะงอยไส้ดือ หมายถึง ไส้ดือ หมายถึง 10. ฆนะนั้นค่อยใหญ่ไปทุกวัน ครั้นถึง 7 วัน เป็นตุ่มออกได้ 5 แห่งดั่งหูดนั้น เรียกว่าเบญจสาขาหูด เบญจสาขาหูด หมายถึง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/3