ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ทุกคนเราทำมธถูกก

1. Ga กิจกรรมที่ 2 : สนุกคิดหาค่าตอบ 27 คำชี้แจง : ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ และตอบว่าขอใดเป็นนิยามเชิงปฏิบัติการหรือนิยามทั่วไป แต่ละโมเลกุลประกอบด้วยธาตุออกซิเจน 2 อะตอม d do 2. ออกซิเจนเป็นแก๊สชนิดหนึ่งที่ช่วยให้เกิดการเผาไหม้ ถ้าเรานํากานธูปที่ติดไฟเกือบจะมอดแล้ว แทยอ กระบอกที่มีแก๊สออกซิเจนอยู่ ก้านธูปจะลุกเป็นเปลวไฟขึ้นมา 3. ตัวนำไฟฟ้า คือ วัตถุที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ง่าย เพราะมีค่าความต้านทานไฟฟ้าต่ำ เมื่อนำมาเป็น ตัวนำไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าก็จะทำงานได้ตามปกติ วัตถุที่นำไฟฟ้าได้ดีส่วนมากจะเป็นโลหะ เช่น เงิน ทองแดง ทอง อลูมิเนียม แพลทินัม เป็นต้น 4. นกเป็นสัตว์ชนิดหนึ่ง มี 2 ขา บินได้ สืบพันธุ์โดยการวางไข่ 5. วัตต์ เป็นหน่วยวัดค่ากำลังไฟฟ้า 6. ความหนาแน่น ผลลัพธ์ที่ได้จากการหาค่าอัตราส่วนระหว่างมวลของวัตถุ ซึ่งมีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับปริมาตร ซึ่งมีหน่วยเป็น ลูกบาศก์เมตร เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดการลอยหรือจมของวัตถุ โดยวัตถุที่มีความหนาแน่นน้อย มีแนวโน้มจะลอยอยู่บนวัตถุที่มีความหนาแน่นมากกว่า คำชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนนิยามเชิงปฏิบัติการของคำที่กำหนด 1. นิยามเชิงปฏิบัติคำว่า “ก้านไม้ 2. นิยามเชิงปฏิบัติคำว่า “แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 3. นิยามเชิงปฏิบัติคำว่า “วัชพืช”

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยด้วยครับ งงมากกเลยเรียนไม่กี่ครั้งสอบแล้ว

กังหัน-เครื่องกำเนิดไฟฟ้า เพราะเหตุใด 2-25 มีการปั้มน้ำจากทะเลสาบไปเก็บในถังเก็บที่ความสูง 20 m ด้วยอัตราการไหล 70 L/s โดยมีการใช้กำลัง ไฟฟ้า 20.4 kW ดังแสดงในรูป ถ้าไม่คิดผลของความเสียดทานและการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์ จงคำนวณหา (ก) ประสิทธิภาพรวม (Overall efficiency) ของชุดปั๊ม-มอเตอร์ (ข) ความดันแตกต่าง ระหว่างทางเข้าและทางออกของปั๊ม (ตอบ (ก) 67.2 % (ข) 196 kPa) 20 m Pump รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 2-25 2-26 น้ำไหลจากระดับความสูง 120 m ด้วยอัตรา 100 m/s เข้าสู่กังหันเพื่อใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ดัง แสดงในรูป ถ้าประสิทธิภาพรวมของชุดกังหัน เครื่องกำเนิดไฟฟ้าเป็น 80% จงคำนวณหากำลังไฟฟ้าของ โรงไฟฟ้าแห่งนี้ กำหนดให้ไม่ต้องพิจารณาผลเนื่องจากแรงเสียดทานในท่อ (ตอบ 94.2 MW) 100 m³/s Generator Turbine turbine-gen = 80% Storage tank 120 m รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 2-26 เปลี่ ใช้เงิ pro 82 .

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 3
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ฟิสิกส์ค่ะ

5. จากรูปที่ 5 กำหนดให้ ระบบไฟฟ้าเป็นระบบ CBA แรงดันไฟฟ้า Vs = 350 cos (500-35) V. ต่อเข้ากับโหลด 2,10 kW. PF, = 0.75 (Lag), Z₂ = 24 kW 1 PF₂=0.85 (Lag) unz Z, - 15 kW 1 PF = 0.90 (Lead) จงคำนวณหาค่าต่างๆ ดังนี้ (20 คะแนน) - 3 ก. หาค่าอิมพีแดนซ์ของโหลด Z Z และ Z (6 คะแนน) ข. กระแสไฟฟ้าที่สาย II และ I ( 6 คะแนน) ค. กำลังไฟฟ้าที่วัตต์มิเตอร์ที่ต่อ P และ P, วัดได้ 4 คะแนน) ง. กำลังไฟฟ้ารวม P (2 คะแนน) จ. เขียนเฟสเซอร์ไดอะแกรม ของแรงดันและกระแส (2 คะแนน) รูปที่ 5 6. จากรูปที่ 6 ไฟฟ้าระบบ ABC มีแรงดัน Vac = 500 Cos (314t -20°) และ Z, Z, Z, - 35 + 40 - จงคำนวณหาค่าต่างๆ ดังนี้ (20 คะแนน) ก. หาค่าแรงดันไฟฟ้า 3 1 VAB VBC, VCA VAN, VAN VAN (6) " ข. กระแสที่ไหลในสาย 11 และ 1. (6 คะแนน) ค. กำลังไฟฟ้าของโหลด P (4 คะแนน) เขียนเฟสเซอร์ ไดอะแกรม ของแรงดันและกระแส (4 คะแนน) 7. จากรูปที่ 7 เมื่อวงจร B A T Z Ic Z₂ Z₁ N Z₁ Z₂ 3 Z₂

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

คำนวนพิกัดของหม้อแปลง cascade ยังไงหรอครับ อย่าง 400 kva 400 kv 3 ตัว

ขั้นบันไดก็คือ ขดลวดสร้างเส้นฟลักซ์แม่เหล็กของหม้อแปลงตัวแรก จะต้องจ่ายกระแสให้กับหม้อ แปลงตัวต่อไปด้วย ฉะนั้นถ้ามีการต่อขั้นบันไดหลายๆ ขั้น หม้อแปลงตัวแรกก็จำเป็นต้องมีกำลังใหญ่ กว่าตัวที่มาต่อเพิ่มขึ้นต่อไป ถ้าใช้หม้อแปลงที่มีกำลังเท่ากันมาต่อขั้นบันได กำลังไฟฟ้าจ่ายออกที่ แรงดันสูง าหนดจะน้อยกว่าผลรวมกำลังของแต่ละตัว นั่นคือหม้อแปลงสามารถจ่ายกระแสได้น้อย กว่าที่กำหนด เช่น หม้อแปลงทดสอบ 400 kV 400kVA 1A 3 ตัวมาต่อขั้นบันได จะได้แรงดันรวมที่ กำหนด 1200 KV แต่จะเหลือกำลังเพียง 900 KVA และกระแส 0.75 A เป็นต้น 1 : ขดลวดแรงต่ำ หรือขดลวดสร้างฟลักซ์ aiman (low voltage or exciting) 2 : ขดลวดแรงสูง (high voltage winding) 3 : ขดลวดคาบเกี่ยว (coupling winding) รูปที่ 2-10 ขดลวดหม้อแปลงสำหรับต่อขั้นบันได การฉนวนหม้อแปลงเมื่อต่อแบบขั้นบันได 3 ขั้น ตามรูปที่ 2-11 จะเห็นได้ว่าหม้อแปลงตัวที่ 2 ซึ่งได้รับแรงดันสร้างเส้นฟลักซ์แม่เหล็กผ่านทางขดลวดต่อคาบเกี่ยวนั้น มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับแรงสูงของ ตัวแรก ฉะนั้นหม้อแปลงตัวที่ 2 นี้ จะต้องได้รับการฉนวน หรือตั้งอยู่บนฉนวนรองรับเท่ากับแรงดัน สูงของตัวแรก ดังในรูป 2-11 200 KVA 0000 400 KVA 3P +1. leee Hil leee 2P 300KVA U 2P ele leee reeeee P III มวน =U 2U 2 leee ถัง S.V 41 นวม - 2U รูปที่ 2-11 ไดอะแกรมการต่อหม้อแปลงทดสอบแบบขั้นบันได 3U กล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ ขอบคุณค่ะ🙏🙏

คาชีแจง จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วทำเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคำตอบ 1. ถ้าต้องการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าควรใช้เครื่องมือชนิดใดและต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าอย่างไร 1. แอมมิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 2. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 3. แอมมิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 2. ถ้าต้องการวัดปริมาณกระแสไฟฟ้าควรใช้เครื่องมือชนิดใดและต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าอย่างไร 1. แอมมิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 2. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 3. แอมมิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 3. ข้อใดแสดงถึงกฎของโอห์ม 1. ความต้านทานแปรผันตรงกับชนิดของสาร 2. กำลังไฟฟ้าเป็นอัตราส่วนของพลังงานที่ใช้กับเวลา 3. ความจุไฟฟ้า คือ อัตราส่วนของประจุไฟฟ้ากับความต่างศักย์ 4. ความต่างศักย์เท่ากับผลคูณของกระแสไฟฟ้ากับความต้านทาน 4. กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้าดังรูปหากต้องการหาความต้านทานจะต้องทำ อย่างไร ความต่างศักย์ V) กระแสไฟฟ้า (A) 1. ใช้พื้นที่ใต้กราฟ 2. ใช้จุดตัดบนแกน X 3. ใช้จุดตัดบนแกน Y 4. ใช้ความซันของกราฟ 5. ถ้าต่อตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทาน 36 โอห์ม เข้ากับความต่างศักย์ 12 โวลต์ ตัวต้านทานดังกล่าวจะม กระแสไฟฟ้าไหลผ่านกี่แอมแปร์ 1. 0.03 แอมแปร์ 2. 0.33 แอมแปร์ 3. 3.33 แอมแปร์ 4 33.3 แอมแปร์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยบอกคำตอบหน่อยค่าา มีทั้งหมด26ข้อนะคะช่วยหน่อยค่ะTT ไม่รู้เรื่องนี้เลยคั้บบ

แบบทดสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1. หลอดไฟให้แสงสว่างได้อย่างไร ก. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดทำให้เกิดความร้อนและ 7. เซลล์สุริยะเปลี่ยนพลังงานจากรูปใดเป็นรูปใด ก. พลังงงานเคมีเป็นพลังงานแสง ข. พลังงงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเคมี ค. พลังงงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานกล ง. พลังงงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้า ความสว่าง ข. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดขนาดใหญ่ทำให้เกิดความ ร้อนและความสว่าง ค. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดความต้านทานต่ำทำให้ เกิดความร้อนและความสว่าง ง. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดความต้านทานสูงทำให้ 8. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับกำลังไฟฟ้าของ เครื่องใช้ไฟฟ้า ก. พลังงานไฟฟ้าที่เปลี่ยนเป็นพลังงานแสง ข. พลังงานไฟฟ้าที่ถูกใช้ไปในเวลา 1 วินาที ค. พลังงานไฟฟ้าที่สิ้นเปลืองไปในการทำงาน เกิดความร้อนและความสว่าง 2. ข้อใดแสดงทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าได้ถูกต้อง ก. กระแสไฟฟ้าไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ ข. กระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วลบไปยังขั้วบวก ค. กระแสไฟฟ้าไหลจากแรงดันต่ำไปยังแรงดันสูง ง. กระแสไฟฟ้าไหลจากบริเวณศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังบริเวณ ศักย์ไฟฟ้าต่ำ ง. พลังงานที่สูญเปล่าในการใช้พลังงานไฟฟ้า 9. หม้อหุงข้าวไฟฟ้าใบหนึ่งมีตัวเลขเขียนกำกับไว้ ด้านข้างว่า 1,200 วัตต์ 220 โวลต์ ถ้านำหม้อ หุงข้าวไฟฟ้าไปเสียบกับเต้ารับจะมีกระแสไฟฟ้าไหล ผ่านกี่แอมแปร์ 3. ข้อใดคืออุปกรณ์ที่วัดความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้า ข. โวลต์มิเตอร์ ก. 3.45 แอมแปร์ ข. 5.45 แอมแปร์ ก. แอมมิเตอร์ ค. โอห์มมิเตอร์ ค. 7.54 แอมแปร์ 10. การวัดปริมาณการใช้ไฟฟ้าตามครัวเรือน นิยมใช้ ง. 9.54 แอมแปร์ ง. บารอมิเตอร์ 4. ข้อใดกล่าวถึงกฎของโอห์มได้ถูกต้อง ก. กระแสไฟฟ้าจะแปรผกผันกับความต่างศักย์ไฟฟ้า หน่วยยูนิต ข้อใดต่อไปนี้คือความหมายของยูนิต ก. จูนต่อวินาที (J/s) ข. วัตต์ต่อวินาที (W/s) ข. กระแสไฟฟ้าจะแปรผกผันกับความต้านทานไฟฟ้า ค. กระแสไฟฟ้าจะแปรผันตรงกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ง. กระแสไฟฟ้าจะแปรผันตรงกับความต้านไฟฟ้า 5. ลวดตัวนำชนิดเดียวกันที่มีความยาวเท่ากัน ลวดตัวนำใน 11.บุคคลใดที่ไม่มีความปลอดภัยในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า ข้อใดมีความต้านทานมากที่สุด ก. ลวดที่มีพื้นที่หน้าตัด 3 เซนติเมตร ข. ลวดที่มีพื้นที่หน้าตัด 6 เซนติเมตร ค. ลวดที่มีพื้นที่หน้าตัด 9 เซนติเมตร ค. กิโลวัตต์ ชั่วโมง (KW/h) ง. เมกะวัตต์ ชั่วโมง (MW/h) ก. นุ่นถอดปล็๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกครั้งหลังใช้งาน ข. ทิวดึงเต้าเสียบออกโดยจับที่สายไฟ ค. ก็กขาร์จโทรศัพท์จากปลั๊กพ่วงที่ไม่มีอุปกรณ์ใด ง. เอิงยกสะพานไฟก่อนที่จะปิดสวิตช์ไฟฟ้าของ หลอดไฟขณะที่เกิดการลัดวงจร ซี่ 4 น ง. ลวดที่มีพื้นที่หน้าตัด 12 เซนติเมตร 6. การต่อตัวต้านทานเข้าไปในวงจรไฟฟ้าจะทำให้ปริมาณ กระแสไฟฟ้าเป็นอย่างไร 12. หลอดไฟ 80 วัตต์ 220 โวลต์ ถ้าเปิดใช้งานนาน 15 ชั่วโมง จะสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้ากี่หน่วย ก. ปริมาณลดลง ข. ขึ้นอยู่กับชนิดของตัวต้านทาน ค. ปริมาณเพิ่มขึ้น ก. 0.6 หน่วย ข. 1.2 หน่วย ง. ปริมาณเท่าเดิม ค. 2.4 หน่วย ง. 3.2 หน่วย

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยได้มั้ยคะ วิทยาศาสตร์ ม.3 ขอบคุณค่ะ

ใบงานที่ 6 การคำนวณค่าไฟฟ้า จำนวนหน่วย (ยูนิต) ที่ใช้ = กำลังไฟฟ้า (วัตต์) x จำนวนเครื่องใช้ไฟฟ้า x เวลาที่ใช้งาน (ชั่วโมง) 1000 ตัวอย่าง บ้านครูอัชฌามีเครื่องใช้ไฟฟ้า 3 ชนิด คือ โทรทัศน์ ขนาด 150 วัตต์ จำนวน 1 เครื่อง, พัตลม ขนาด 100 วัตต์ จำนวน 1 เครื่อง และหลอดไฟขนาด 40 วัตต์ จำนวน 5 ตวง โดยครูอัชฌาจะเปิดทีวีและพัตลมพร้อมกัน ตั้งแต่เวลา 18.00 - 22.00 น. ทุกวัน ส่วนหลอดไฟจะเปิดพร้อมกันทั้ง 5 ดวงตั้งแต่เวลา 18.00 - 06.00 น. ทุกวัน อยากทราบว่าในเดือนธันวาคม ครูอัชฌาใช้ไฟฟ้าไปกี่หน่วย (ยูนิต) วิธีคิด ใน 1 วัน เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดจะใช้ไฟฟ้าดังนี้ จำนวนหน่วยของโทรทัศน์ = [(150 x 1) x 3] / 1000 = 0.45 จำนวนหน่วยของพัดลม = [(100 x 1) x 3) / 1000 = 0.30 จำนวนหน่วยของหลอดไฟ = (40 x 5) x 12]/ 1000 = 2.40 รวมใน 1 วัน ครูอัชฌาใช้ไฟฟ้าทั้งสิ้น = 0.45 + 0.30 + 2.40 - 3.15 ดังนั้น ในเดือนธันวาคม (มี 31 วัน) ครูอัชฌาใช้ไฟฟ้าทั้งสิ้น = 3.15 x 31 = 97.65 หน่วย (ยูนิต) แบบฝึกหัด บ้านของครูอัชฌามีเครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งหมด 10 รายการดังต่อไปนี้ จงคำนวณค่าใช้ไฟฟ้าของบ้านครูอัชฌา ในเดือนมกราคมที่ผ่านมาว่าครูอัชฌาต้องจ่ายเงินค่าไฟฟ้าเป็นจำนวนเท่าใด โดยดูจากป้ายที่ติดหรือคู่มือของ เครื่องใช้ไฟฟ้า (ค่าไฟฟ้าหน่วยละ 5 บาท และไม่รวมการศิดค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft) ของการไฟฟ้า) 1. มีหลอดไฟฟ้าขนาด 40 วัตต์ (รวมบัลลาสต์อีก 10 วัตต์ เป็น 50 วัตต์) จำนวน 10 ดวง เปิดใช้ประมาณวันละ 6 ชั่วโมง จะใช้ไฟฟ้าวันละ... 50 x 10 x 6 3 หน่วย 1000 2. หม้อหุงข้าว ขนาด 600 วัดต์ จำนวน 1 ใบ เปิดใช้ประมาณวันละ 30 นาที จะใช้ไฟฟ้าวันละ 600 x 1x 0.5 1000 0.3 หน่วย 3. ตู้เย็น ขนาด 125 วัตต์ จำนวน 1 ตู้ เปิดตลอด 24 ชั่วโมง สมมุติคอมเพรสเซอร์ทำงาน 8 ชั่วโมง จะใช้ไฟฟ้าวันละ หน่วย 4. เครื่องปรับอากาศ ขนาด 2,000 วัตต์ จำนวน 1 เครื่อง เปิดวันละ 12 ชั่วโมง สมมุติคอมเพรสเซอร์ทำงานวันละ 8 ชั่วโมงจะใช้ไฟฟ้าวันละ.ราย หน่วย

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/4