ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

เเงงช่วยตอบหน่อยค่ะ

คำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ade หน่วยของสิ่งมี ซึ่งมีชีวิต 1. ส่วนประกอบภายในเซลล์จะมีขนาดเป็นอย่างไร เมื่อเทียบกับขนาดของเซลล์ 2. จากตัวอย่างส่วนประกอบภายในเซลล์ที่กล่าวมา ส่วนประกอบใดที่พบในเซลล์พืชเท่านั้น ไม่พบในเซลล์สัตว์ 3 จากตัวอย่างส่วนประกอบภายในเซลล์ที่กล่าวมา ส่วนประกอบใดที่สามารถพบในเซลล์ทุกชนิด 4. ถ้าเขียนส่วนประกอบของเซลล์ โดยให้มีส่วนประกอบเพียง 2 ส่วน แล้วครอบคลุมเซลล์ทั้งหมด ส่วนประกอบ 2 ส่วนนั้นคืออะไร 5. เซลล์ทุกชนิดต้องมีนิวเคลียสจริงหรือไม่ อย่างไร 6. เยื่อหุ้มเซลล์เกี่ยวข้องกับการลำเลียงสารอย่างไร 7 นำเซลล์ชนิดหนึ่งที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.005 มิลลิเมตร มาส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ เพื่อให้เห็นมีขนาด 2 มิลลิเมตร ควรใช้กำลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุเท่าใด ถ้ากำลังขยายของ เลนส์ใกล้ตาเป็น 10 เท่า 8. การสังเกตเพื่อให้ได้ข้อมูลมากที่สุด จะต้องใช้ประสาทสัมผัสด้านใดบ้าง 9. ถ้านำเยื่อบาง ๆ ของใบชบามาส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ ภาพที่เห็นมีลักษณะอย่างไร 10. การนำเซลล์ซึ่งเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตมาจัดระบบเป็นร่างกายของสิ่งมีชีวิต มีขั้นตอนอย่างไร จุดประกายโครงงาน แบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผน ออกแบบและประดิษฐ์แบบจำลองเซลล์พืช และเซลล์สัตว์ จากวัสดุเหลือใช้ แล้วนำเสนอในแบบประกวดโครงงานสิ่งประดิษฐ์ อาชีพน่ารู้ นักวิทยาศาสตร์ (Scientist) ผู้ที่ศึกษาค้นคว้าเพื่อความเข้าใจในธรรมชาติ แล้วนำความรู้ที่ได้จากการศึกษานั้นมาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อมนุษยชาติต่อไป โดยผู้ที่จะเป็นนักวิทยาศาสตร์ต้องเป็นผู้ที่รักการสังเกต สามารถตั้งข้อสงสัยจากข้อมูล ที่ได้จากการสังเกตนั้น และรักที่จะหาคำตอบข้อสงสัยนั้นให้ได้

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยงับ วิทยาศาสตร์

แบบฝึกหัดที่ 2.2 เลือกคำที่กำหนดให้ แล้วนำไปเติมหน้าข้อความที่มีความสัมพันธ์กัน แอกทีฟทรานสปอร์ต พลังงานจลน์ การแพร่ เวสิเคิล อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต โปรตีนตัวพา แ2 พลังงานศักย์ เยื่อเลือกผ่าน ภาวะสมดุลของการแพร่ เอนโดไซโทซิส การแพร่แบบฟาซิลิเทต เอกโซไซโทซิส ดีออกซีไรโบนิวคลีอิก โปรตีนตัวรับ ออสโมซิส ฟอสโฟลิพิด 1. สารขนาดใหญ่ที่บรรจุอยู่ในเวสิเคิลจะเคลื่อนที่มารวมกับเยื่อหุ้มเซลล์ เพื่อปล่อยสารออกนอกเซลล์ 2. การเคลื่อนที่ของอนุภาคสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณ ที่มีความเข้มข้นต่ำ จนความเข้มข้นของสารทั้งสองบริเวณเท่ากัน 3. การลำเลียงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์เม็ดเลือดแดงสู่ถุงลม เพื่อ กำจัดออกจากร่างกาย 4. คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์ที่จะยอมให้สารบางชนิดสามารถผ่านเข้า-ออก จากเซลล์ได้ 5. สารพลังงานสูงของเซลล์ที่ช่วยผลักดันให้เกิดการลำเลียงสารจากบริเวณ ที่มีความเข้มข้นต่ำไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นสูง 6. การทำลายเชื้อโรคของเซลล์เม็ดเลือดขาว โดยการโอบล้อมเชื้อโรคเพื่อ นำเข้ามาย่อยสลายภายในเซลล์ 7. พลังงานที่ทำให้อนุภาคสารเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา ซึ่งอนุภาคสารจะเกิด การชนกัน และกระจายไปยังบริเวณอื่นๆ 8. การลำเลียงสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำไปยังบริเวณที่มีความ ส่ 9 เข้มข้นสูงผ่านช่องโปรตีนตัวพา และอาศัยพลังงานช่วยในการลำเลียง 9. บริเวณที่อนุภาคสารถูกลำเลียงผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ของการแพร่แบบ ฟาซิลิเทต และการลำเลียงโดยใช้พลังงาน 10. ถุงบรรจุสารขนาดใหญ่ เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน เพื่อใช้ในการลำเลียง สารเข้า-ออกจากเซลล์ องค์ประกอบของสิ่งมี ึงมีชีวิต 21

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วนหน่อยนะคะ

3. การลำเลียงสารผ่านเซลล์ แบบฝึกหัดที่ 3.1 จงตอบคำถามเกี่ยวกับการลำเลียงสารผ่านเซลล์ 1. เมื่อเกิดการแพร่ โมเลกุลสารมีทิศทางการเคลื่อนที่อย่างไร . . 2. หากเซลล์อยู่ในสภาวะที่สารละลายภายนอกเซลล์มีความเข้มข้นต่ำกว่าภายในเซลล์ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์จะมีการเปลี่ยนแปลงเหมือนกันหรือไม่ อย่างไร - 3. การลำเลียงสารแบบใช้พลังงานมีทิศทางการลำเลียงต่างจากการแพร่แบบธรรมดาอย่างไร 4. เซลล์มีวิธีการใดในการลำเลียงกลูโคส กรดอะมิโน และไอออนต่าง ๆ เข้าสู่เซลล์ได้อย่าง รวดเร็ว 5. การจับเชื้อโรคของเซลล์เม็ดเลือดขาว โดยการยื่นไซโทพลาซึมไปโอบล้อมเชื้อโรคแล้วเกิด เป็นถุงเวสิเคลเข้าไปภายในเซลล์ เป็นการลำเลียงสารแบบใด

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 5
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ:)

คำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยของสิ่งมีชีวิต 1. ส่วนประกอบภายในเซลล์จะมีขนาดเป็นอย่างไร เมื่อเทียบกับขนาดของเซลล์ 2. จากตัวอย่างส่วนประกอบภายในเซลล์ที่กล่าวมา ส่วนประกอบใดที่พบในเซลล์พืชเท่านั้น ไม่พบในเซลล์สัตว์ 3. จากตัวอย่างส่วนประกอบภายในเซลล์ที่กล่าวมา ส่วนประกอบใดที่สามารถพบในเซลล์ทุกชนิด 4. ถ้าเขียนส่วนประกอบของเซลล์โดยให้มีส่วนประกอบเพียง 2 ส่วนแล้วครอบคลุมเซลล์ทั้งหมด ส่วนประกอบ 2 ส่วนนั้นคืออะไร 5. เซลล์ทุกชนิดต้องมีนิวเคลียสจริงหรือไม่ อย่างไร 6. เยื่อหุ้มเซลล์เกี่ยวข้องกับการลำเลียงสารอย่างไร 7. นำเซลล์ชนิดหนึ่งที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.005 มิลลิเมตร มาส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ เพื่อให้เห็นมีขนาด 2 มิลลิเมตร ควรใช้กำลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุเท่าใด ถ้ากำลังขยายของ เลนส์ใกล้ตาเป็น 10 เท่า 8. การสังเกตเพื่อให้ได้ข้อมูลมากที่สุด จะต้องใช้ประสาทสัมผัสด้านใดบ้าง 9. ถ้านำเยื่อบาง ๆ ของใบชบามาส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ ภาพที่เห็นมีลักษณะอย่างไร 10. การนำเซลล์ซึ่งเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตมาจัดระบบเป็นร่างกายของสิ่งมีชีวิต มีขั้นตอนอย่างไร

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
1/6