ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยงับ วิทยาศาสตร์

แบบฝึกหัดที่ 2.2 เลือกคำที่กำหนดให้ แล้วนำไปเติมหน้าข้อความที่มีความสัมพันธ์กัน แอกทีฟทรานสปอร์ต พลังงานจลน์ การแพร่ เวสิเคิล อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต โปรตีนตัวพา แ2 พลังงานศักย์ เยื่อเลือกผ่าน ภาวะสมดุลของการแพร่ เอนโดไซโทซิส การแพร่แบบฟาซิลิเทต เอกโซไซโทซิส ดีออกซีไรโบนิวคลีอิก โปรตีนตัวรับ ออสโมซิส ฟอสโฟลิพิด 1. สารขนาดใหญ่ที่บรรจุอยู่ในเวสิเคิลจะเคลื่อนที่มารวมกับเยื่อหุ้มเซลล์ เพื่อปล่อยสารออกนอกเซลล์ 2. การเคลื่อนที่ของอนุภาคสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณ ที่มีความเข้มข้นต่ำ จนความเข้มข้นของสารทั้งสองบริเวณเท่ากัน 3. การลำเลียงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์เม็ดเลือดแดงสู่ถุงลม เพื่อ กำจัดออกจากร่างกาย 4. คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์ที่จะยอมให้สารบางชนิดสามารถผ่านเข้า-ออก จากเซลล์ได้ 5. สารพลังงานสูงของเซลล์ที่ช่วยผลักดันให้เกิดการลำเลียงสารจากบริเวณ ที่มีความเข้มข้นต่ำไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นสูง 6. การทำลายเชื้อโรคของเซลล์เม็ดเลือดขาว โดยการโอบล้อมเชื้อโรคเพื่อ นำเข้ามาย่อยสลายภายในเซลล์ 7. พลังงานที่ทำให้อนุภาคสารเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา ซึ่งอนุภาคสารจะเกิด การชนกัน และกระจายไปยังบริเวณอื่นๆ 8. การลำเลียงสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำไปยังบริเวณที่มีความ ส่ 9 เข้มข้นสูงผ่านช่องโปรตีนตัวพา และอาศัยพลังงานช่วยในการลำเลียง 9. บริเวณที่อนุภาคสารถูกลำเลียงผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ของการแพร่แบบ ฟาซิลิเทต และการลำเลียงโดยใช้พลังงาน 10. ถุงบรรจุสารขนาดใหญ่ เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน เพื่อใช้ในการลำเลียง สารเข้า-ออกจากเซลล์ องค์ประกอบของสิ่งมี ึงมีชีวิต 21

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยทำหน่อยค่ะ พี่ๆ น้องๆ เพื่อนๆ คนไหนรู้คำตอบมั้งคะ😊

เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบหายใจ เรียงลำดับชื่อส่วนของร่างกาย ในการผ่านของอากาศในการหายใจเข้า รูจมูก โพรงจมูก ห่อลม ถุงลม หลอดลม ๒๕๕ - 4. - กิจกรรม การหายใจเข้าและการหายใจออกเกิดขึ้นได้อย่างไร สังเกตและอธิบายกลไกการหายใจเข้า และการหายใจออกโดยใช้แบบจำลอง การทำงานของปอด สิ่งที่ค้นพบจากกิจกรรม เมื่อดึงแผ่นยางลง ลูกโป่งจะ 1 เนื่องจาก 2. เมื่อดันแผ่นยางลง ลูกโป่งจะ เนื่องจาก ขณะหายใจเข้า ขณะหายใจออก 1. กระบังลมจะ 1. กระบังลมจะ 2. กระดูกซี่โครงจะ 3. ปริมาตรช่องอกจะ 2. กระดูกซี่โครงจะ 3. ปริมาตรช่องอกจะ 4. ความดันในช่องอกจะ 4. ความดันในช่องอกจะ กระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊ส 1. การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดที่บริเวณใดของร่างกายบ้าง ตอบ.

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
สุขศึกษา มัธยมต้น

ใครมีรูปแบบนี้ในภาพบ้างส่งมาหน่อยค่าา มองรูปไม่ชัดเลยเขียนไม่ได้

ปิด : น่า สยุป ประเมิน Unit Question คำชี้แจะได้นักเรียนคอบต่าถามต่งอไป่นี้ จะลินายการเคลื่อนที่ของแกิตแสา์เจนจากธากาศมายนะกร่างการเข้าสู่ปอต และแกิดหาร์นสนโดยอกไรค์ จากป่อดยอกลู่ยากาศภายนยกร่างกาย (แนวaoบ Unit Question 1. แก๊สกตกซิเจนจากภากาศเคลื่อนที่เข้าสู่ร่างกาย ทางจมูก หรือปาก จากนั้นเคลื่อนต่อไปยัง โพรงจมูก ท่อลม แยกไปตามหลอดลมเข้าสู่ ปอดทั้ง 2 ข้าง เพื่อไปแลกเปลี่ยนแก็สที่ถุงคม ภายในปกด ส่วนแก๊สคาร์นถนโดอกกไซต์ที่เกิด 2. พิจารณาภาพที่กำหนดให้ แล้ดคอบคำธาม่อไปนี้ จากการแลกเปลี่ยนแก๊สนริเวณถุงลมในป่อด อยกสู่อากาศนภายนอก โดยผ่านมายังหลอดลม ท่อลม โพรงจมูก และจมูก ตามลำดับ 2. 21 หมายเลข 1 คือ กระดูกซี่โครง ทำงาน ช่วมกับกล้ามเนื้อยีดกระดูกซี่โครงในการ เปลี่ยนแปลงปริมาตรของช่องกระหว่าง การทายใจเข้าและหายใจยan หมายเลข 2 คีย กะบังดม ทำหน้าที่รั้งปอดลง เพื่อให้ กากาศเข้าสู่ปอดรณะทายใจเข้า และตัน ปอดขึ้นเพื่อไล่อากาศแยกจากปอดขณะ หายใจยอา 2.2 จากภาพ เป็นการหายใจตอก เนื่องจาก กระดูกซี่โครงเลี่ยนต่ำลงและทะนังคมลื่อน สูงขึ้น ทำให้ในช่องยกมีปริมาตรลดลงและ มีความดันเพิ่มขึ้น อากาศจึงถูกค้นออกสู่ 2.1 จากภาพ หมายเลข 1 และหมายเลข 2 คืออวัยวะได มีส่วนช่วยในการหายใจอย่างไร 2.2 จากภาพ เป็นการหายใจเข้าหรือออก เพราะเหตุใด ภายนอกร่างกาย การแลกแปลี่ยนแกิสมีกระบวนการอม่างไร 3. การแลกเปลี่ยนแก๊สเป็นเระบวนการแลกเปลี่ยน แก๊สออกซิเจนกับแก็ตตาชันอนไดออกไซด์ ซึ่งเกิดขึ้น 2 บริเวณ ได้แก่ 1) บริเวณปลด มีการแลกเปที่ยนแก้ตระหว่าง ถุงผมกันหลยดเดือดฝย โดยแก๊สยแกซิเจน แพร่จากถุงดมเข้าสู่หลอดเดือดผอย ส่วน เพราะเหตุดผู้ปายโรหยงผมไปอดยงจตายในเร็วกว่าคนปกติ หน่ายโดทำหน้าที่คำจัดของเสียงเทจากร่างกายได้อย่างไป เพราะเหตุใจึงไม่พบโปรดันและกลูโคตปนออกมากับน้ำปัดสาวะ เพราะเหตุใดแพทย์จึงและนำให้ที่มน้ำสะลาคผ่างมัมแลวันละ 2 โคร แก็สคาร์นแนไตยกใซต์แพร่จากหละดเดิกต ฝอยเข้าสู่ถุงหม 2) บริเวณเซตล์ต่างๆ มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส ระหว่างหลอดเลือดฝ่อยกับเซลล์ โดยแก็ส ถยกซิเจนแพร่จากหลอดเลือดฝอยเข้าสู่เซล์ ส่วนแก๊สตาร์บอนโดออกไซต์แพร่จากเซลล์ เข้าสู่หลอดเลือดฝอย 4. เนื่องจากผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งทองมีผบังถุงลมฉีกขาด พื้นที่ผิวแลกเปลี่ยนแก้สจึงนัยยลง ทำให้แก๊ตกกซีเจนที่ได้รับไม่เทียงพอกับความตัดงการของร่างกาย จึงต้องหายใจเส็วและีกว่าคนปกติ เพื่อให้ได้รับแก้สอยกซิเจนที่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย 6. หน่วยโดทำหน้าที่กรองลารต่างๆ อยกจากเลีอด ซึ่งมีเฉพาะตารขนาดเลิก เช่น น้ำ กลูโคส กรดอะมิโน และของเสียค่างๆ เช่น ยูเชีย ที่ถูกรองเข้าส่ หน่วยใต และสารที่มีประโยชน์ถูกดูดกตับเข้าสู่หลยดเลือดฝอย ทำให้เหลียเฉพาะของเสียท่ผ่านหน่วยไดไปยังท่อไต และใไปรวมยังกระเพาะปัสลาวะเป็น น้ำปัดตาระ เพื่อกำจัดออแจากร้างกายทางท่อมัสสาวะต่อไป 4. เนื่องจากสารที่ถูกกรองผ่านเหน่วยโดเป็นสารที่มีขนาดเล็ก ซึ่งโปรตีนเป็นสารขนาดใหญ่จึงไม่ผ่านการกรองเข้าสู่หน่วยได ส่วนกลูโคสเป็นดารที่มีขนาดเล็ก และเป็นสารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายจึงถูกลูดกลับเข้าสู่หลอดเลียดฝอย ดังนั้น จึงไม่คนไปรตีนและกลูโคลปนแออกมากับน้ำปัดลาวะ 7. การดื่มน้ำสะอาดอย่าเพียงพอเป็นการช่วยให้ไดไม่ทำงานหนักจนเกินไปเพราะไดไม่ต้องกรองน้ำเลือดที่มีความเข้มข้นมากจนเกินไป ทำให้โดทำงานไต้ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งแพทย์แนะนาให้ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยรันละ 8-10 แก้ว หรือบระมาณวันละ 2 ลิตร < 80 / 154 %

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยตอบหน่อยคะ🥺🥺🙏🏻🙏🏻🙏🏻

แบบฝึกหัดที่ 2.2 เลือกคำที่กำหนดให้ แล้วนำไปเติมหน้าข้อความที่มีความสัมพันธ์กัน แอกทีฟทรานสปอร์ต พลังงานจลน์ การแพร่ เวสิเคิล อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต โปรตีนตัวพา พลังงานศักย์ เยื่อเลือกผ่าน ภาวะสมดุลของการแพร่ เอนโดไซโทซิส การแพร่แบบฟาซิลิเทต เอกโซไซโทซิส ดีออกซีไรโบนิวคลีอิก โปรตีนตัวรับ ออสโมซิส ฟอสโฟลิพิด 1. สารขนาดใหญ่ที่บรรจอยู่ในเวสิเคิลจะเคลื่อนที่มารวมกับเยื่อหุ้มเซลล์ เพื่อปล่อยสารออกนอกเซลล์ อนทีม 2. การเคลื่อนที่ของอนุภาคสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณ ที่มีความเข้มข้นต่ำ จนความเข้มข้นของสารทั้งสองบริเวณเท่ากัน 3. การลำเลียงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์เม็ดเลือดแดงสู่ถุงลมปอด เพื่อกำจัดออกจากร่างกาย 4. คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์ที่จะยอมให้สารบางชนิดสามารถผ่านเข้า-ออก จากเซลล์ได้ 5. สารพลังงานสูงของเซลล์ที่ช่วยผลักดันให้เกิดการลำเลียงสารจากบริเวณ ที่มีความเข้มข้นต่ำไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นสูง 6. การทำลายเชื้อโรคของเซลล์เม็ดเลือดขาว โดยการโอบล้อมเชื้อโรคเพื่อ นำเข้ามาย่อยสลายภายในเซลล์ 7. พลังงานที่ทำให้อนุภาคสารเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา ซึ่งอนุภาคสารจะเกิด การชนกัน และกระจายไปยังบริเวณอื่น ๆ 8. การลำเลียงสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำไปยังบริเวณที่มีความ เข้มข้นสูงผ่านช่องโปรตีนตัวพา และอาศัยพลังงานช่วยในการลำเลียง 9. บริเวณที่อนุภาคสารถูกล่ำเลียงผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ของการแพร่แบบ ฟาซิลิเทต และการลำเลียงโดยใช้พลังงาน 10. ถุงบรรจุสารขนาดใหญ่ เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน เพื่อใช้ในการลำเลียง สารเข้า-ออกจากเซลล์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยครับ หาข้อมูลนานมากเเต่ก็ยังไม่เข้าใจครับ

ชื่อ-นามสกุล ชั้น ม.4/. เลขที่ ใบงาน เรื่อง การลำเลียงสารผ่านเซลล์ ให้นักเรียนตอบคำถามให้ถูกต้อง 1. การแพร่ คือ 2. จงยกตัวอย่างการแพร่ที่พบในชีวิตประจำวัน 1). 2) 3). 3. ออสโมซิส (Osmosis) คือ 4. การแพร่แบบฟาซิลิเทตต่างจากการแพร่แบบธรรมดาอย่างไร.. 5. พลังงานที่เซลล์นำมาใช้ในการลำเลียงสารแบบใช้พลังงานได้มาจาก.. 6. ตัวพาหรือตัวลำเลียงที่แทรกอยู่ในเยื่อหุ้มเซลล์เป็นสารประเภท.. 7. เอนโดไซโทซิส (Endocytosis) คือ. 8. เอกโซไซโทซิส (ExOcytosis) คือ 9. การทำปลาเค็มแดดเดียวใช้หลักการลำเลียงสารวิธีใด 10. การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์มีประโยชน์กับเซลล์อย่างไร..

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยครับ;-;

1. จงใส่เครื่องหมายถูก(V)หน้าข้อความที่ถูกต้อง ใส่เครื่องหมายผิด(x)หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง และขีด เส้นใต้เฉพาะคำ หรือส่วนของข้อความที่ไม่ถูกต้อง และแก้ไขข้อความโดยตัดออก หรือเติมคำ หรือ ข้อความที่ถูกต้องลงในช่องว่าง การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์ ..1.1 ผิวหนัง เหงือก และปอดเป็นโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส มีลักษณะ บางและชื้นอยู่ ตลอดเวลา เพื่อให้เกิดการแพร่และแอกทีฟทรานสปอร์ตของแก๊สได้ ....1.2 ไส้เดือนดินเป็นสัตว์ที่มีระบบหมุนเวียนเลือดและสามารถแลกเปลี่ยนแก๊สผ่าน ผิวหนังลำ ตัว .1.3 แมลงมีการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างท่อลมฝอยกับเซลล์ในส่วนต่างๆของร่างกาย .1.4 ในปลา น้ำ ที่มี02 จากปากจะผ่านออกทางเหงือก โดย O2 จากน้ำ จะแพร่เข้าสู่ หลอด เลือดฝอยที่เหงือกได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อเลือดและน้ำ ไหลไปใน ทิศทางเดียวกัน .1.5 สัตว์สะเทินน้ำ สะเทินบกใช้เหงือก ผิวหนัง และปอดในการแลกเปลี่ยนแก๊ส .1.6 โครงสร้างที่ใช้แลกเปลี่ยนแก๊สของนกอยู่ที่ปอดและถุงลม (air sac) .1.7 อากาศที่ไหลผ่านปอดของนกจะไหลในทิศทางเดียวเสมอ โดยทุกรอบของการ หายใจ อากาศ ในปอดจะถูกแทนที่ด้วยอากาศจากถุงลมเข้าไปใหม่ตลอดเวลา 2. จากรูปทางเดินหายใจของมนุษย์จงระบุชื่อโครงสร้างในช่องว่าง จากนั้นนำ ชื่อโครงสร้าง ใส่ หน้าข้อความที่มีความสัมพันธ์กัน .2.1ส่วนของทางเดินหายใจที่อยู่ระหว่างคอหอยและท่อลมภายในมีสายเสียง .2.2 ท่อที่อยู่ระหว่างกล่องเสียงกับหลอดลม .2.3 หลอดขนาดเล็กที่แตกแขนงจากหลอดลม มีหลายขนาด ลำ เลียงอากาศ ไปยังถุง ลมในปอด 2.4 ช่องบริเวณลำ คอเป็นทางผ่านของอากาศและอาหาร .2.5 หลอด 2 แขนงที่แยกจากท่อลมเพื่อไปยังปอดซ้ายและปอดขวา

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

อยากรู้ทุกข้อเลยค่ะ พน.หนูต้องพรีเซ้นท์ ช่วยหนูหน่อยนะคะ

10. 19» 12 13. 14. ณเทะ ข้อใดเป็นความจริงเกี่ยวกับการหายใจเข้าและออก หแนอ มขะ ก. เกิดชิ้นโดยอัตโนมัติ ข. อยู่นอกเหนืออํานาจจิตไจ ส เก ซ่ ต. มีศูนย์กลางควบคุมการหายไจที่สมองส่วนกลาง 1. กและข 2. ขและค 3. กและค 4. กข และค ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการลําเลียง '0, และ 00, ในระบบการหายใจ ก. 0, ถูกลําเลียงไปกับฮีโมโกลบินมากกว่าละลายในพลาสมา ข. 00, สามารถถูกลําเลียงไปกับฮีโมโกลบินได้ ต. เม็ดเลือดแดงลําเลียง ๐0, ในรูปกรดอินทรีย์บางชนิด ง. เม็ดเลือดของแมลงลําเลียง 0, และ ๐0, ได้เหมือนกับเม็ดเลือดแดงของคน 1. ก และข 2. ขและค 3. กขและค 4. กขดคและง กระบรนการไตที่เกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ไนร่างกายของคน ก. การแพร่ ข. การแพร่แบบฟาซิลิเทต ค. แอกทีฟทรานสปอร์ต รอ 2. กและข 3. กและค 4. กข และ ค เมื่อร่างกายกําจัดคาร์บอนไตออกไซต์ไม่ทัน ทําให้ความเข้มข้นของ |1' ในเลือดเพิ่มชื้น ร่างกายจะรักษา สมดุลของกรด - เบส โดย "' จะไปรวมกับสารในข้อใด 1. อห 2. 0หห๐อ, 3. อห , พ๐0 ,, พ5@” , 4. 0ห , พ๐0 , , หห0* , , หลอกท๐ดเอ๒เก กล้ามเนื้อในข้อใดเมื่อหดตัวจะทําให้กระดูกซี่โครงลดตาลง และตามด้วยกระดูกหน้าอกลดตําด้วย ฉั คืดสี่ ก. กล้ามเนื้อแถบนอกยืดซีโครง ข. กล้ามไเนื้อแถบในยืดซี่โครง นี ครวป ค. กล้ามเนื้อกะบังลม รว ตซี 3. ก และค 4. ขและค *ะโติวเข้ม” วิซาชีววิทยา : การรักษาตุลยภาพของกรด - เบสในร่างกาย 3

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
1/3