ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหนูหน่อยนะคะหนูทำไม่ได้ค่ะ

1 จาก 6 1. ให้นักศึกษานำข้อมูลที่ได้สร้างตารางแจกแจงความถี่ 2. ให้นักศึกษานำข้อมูลที่ได้คำนวณค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม พิสัย ความแปรปรวน ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสัมประสิทธิ์การแปรผัน ในกรณีข้อมูลไม่แจกแจงความถี่ 3. ให้นักศึกษานำตารางแจกแจงความถี่ที่ได้ในข้อ 1 คำนวณค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม ความแปรปรวน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในกรณีข้อมูลแจกแจงความถี่ 4. ให้นักศึกษานำข้อมูลที่ได้ หาค่า Q2 D5 และ Pas 29 19 31 กิจกรรมที่ 1 หน่วยที่ 3 สถิติเบื้องต้น (15 คะแนน) ส่งวันที่ 4 มีนาคม 2567 48 43 49 49 44 27 39 10 15 11 20 33 43 32 47 12 15 43 11 10 40 ข้อมูลชุดที่ 6 23 12 43 ข้อมูลชุดที่ 1 38 43 23 46 14 12 46 19 20 34 49 22 ข้อมูลชุดที่ 2 47 28 31 18 15 14 50 19 44 23 27 29 32 14 16 15 27 14 26 38 39

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะค่ะ

1) สมหญิงสูง 180 เซนติเมตร ยกของมวล 5 กิโลกรัม จากพื้นราบวางบนศีรษะและเดินตามแนวราบเป็นระยะทาง 20 เมตร จากนั้นขึ้นบันได 5 ขั้น สูงขึ้นละ 20 เซนติเมตร จงหางานทั้งหมดที่สมหญิง (2= 10 m/s 1.1) ช่วงที่ 1: ยกของจากพื้นวางบนศีรษะ nou HF = (5x10x43) + (0)20)+(5:50%.5x02)+10+0 - 50 MO 12) ช่วงที่ 2 เดินตามแนวราบเป็นระยะทาง 20 ม. ตอบ 1.3) ช่วงที่ 3 ช่วงที่สมหญิงขึ้นบันได ตอบ 1.4) งานทั้งหมดที่สมหญิง ตอบ 2) กล่องใบหนึ่งเคลื่อนที่บนพื้นราบได้ระยะทาง 6 เมตร โดยมีแรงมากระทำต่อกล่อง 3 แรง จงหางานเนื่องจาก แรง F1, F2 และ N ดังภาพ ตอบ 0) ทิศการเคลื่อนที่ของกล่อง F₁7641 3) กรณีใดบ้างที่งานจะมีค่าเป็นศูนย์ ทางในเชียปลี่ยนสายนามคลี่ยนที่ ตอบ นักกีฬา โพ แรงที่พื้นดินคล่อง) F₁ - 15 N 4) การแข่งขันยกน้ำหนักของนักกีฬา 3 คน โดยใช้บาร์เบลหนัก 400 นิวตันเท่ากัน แต่ระยะความสูงที่ยกเหนือ ศีรษะและเวลาที่ใช้ต่างกันดังตาราง นักกีฬาคนใดมีกำลังมากที่สุด คนที่ 1 ระยะความสูงที่ยกเหนือศีรษะ (cm) เวลาที่ใช้ในการยก (3) P₁ = 4 = ES₁ = 600 Com ตอบ 190 M 6 คนที่ 2 200 10 คนที่ 3 180 8 ใบความรู้ วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นป. เรื่องงานและพลังงาน (Work and Energy) ชื่อ-สกุล 4 yes get * งาน (Work) สัญลักษณ์ "W" มีหน่วยเป็น นิวตัน-เมตร (m) หมายถึง ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุแล้ววัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรง ขนาดของแรงและขนาดของระยะทางตามก M v F เพิ่มเติม - ตรนวณ - - ทำมุม 6 กับ 5 ห้มุมทั้งจากกัน 5 W = FScose ตัวอย่าง งานที่เกิดจากการออกแรงผลักกล่อง 5 ไปตามพื้นราบเป็นระยะทาง 3 เมตร จะมีค่าเท่า geW=Fx5-50x3 =15 ดังนั้น งานที่เกิดขึ้นมีค่าเท่ากับ 150 จุล ตัวอย่าง นาย ก เดินขึ้นบันไดสูง 2.5 ของหนัก 20 นิวตัน จะหางานที่เกิด angas W=Fx5=2 ดังนั้น งานที่เกิดขึ้นมีค่าเท่ากับ * กำลัง (Power) สัญลักษณ์ มีหน่วยเป็น จูลต่อวินาที หมายถึง งานที่ทําได้ใน กรด้านวณ P

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ธุรกิจ มหาวิทยาลัย

ช่วยตอบอันนี้หน่อนะคะไม่เข้าใจค่ะว่าต้องตอบยังไงมันเป็นระบบการเช่ารถอะค่ะ

22:17 น. (0) Û 9% docs.google.com/1 Use Case: การรับรถ Primary Actor: พนักงานบริการ Stakeholders and their interests: + 1. จากรูปเนื้อหาที่ให้มาให้นักศึกษา วิเคราะห์ System Event จาก Main Success Scenario ของระบบเช่ารถ VO LTE1 45 2 ลูกค้า ต้องการได้รับรถที่จองไว้แล้ว พนักงาน พนักงาน ต้องบันทึกว่ารถที่ลูกค้ารับออกไปไม่สามารถให้ลูกค้ารายอื่นๆ เช่าออกไปได้ Pre-condition: มีรายการจองรถของลูกค้ารายนั้นไว้ล่วงหน้าแล้ว Post-condition: รายการจองรถของลูกค้าถูกบันทึกและมีสถานะว่ารับรถไปแล้วสถานะของรถถูกปรับปรุง ว่ากําลังถูกเช่าออกไป Main Success Scenario: 1. ลูกค้าติดต่อพนักงานบริการ เพื่อขอรับรถตามการจองที่ได้ทำไว้ตามเลขที่ใบจอง 2. พนักงานบริการค้นหารายการจองโดยใช้เลขที่ใบจอง คําตอบของคุณ 3. ระบบค้นหาข้อมูลการจองที่บันทึกไว้แล้วและแสดงรายละเอียดการจองที่ทำไว้แล้ว 4. พนักงานบริการแจ้งข้อมูลการจองเพื่อให้ลูกค้ายืนยัน 5. พนักงานบริการแจ้งให้ทราบถึงอัตราค่าเช่าของรถที่จะให้ลูกค้าเช่า 6. ลูกค้ายืนยัน พนักงานบริการขอข้อมูลของผู้เช่าเพิ่มเติม ได้แก่ เลขที่ใบขับขี่ 7. ระบบบันทึกรายการเช่ารถ โดยแสดงมีข้อมูลรถคันที่ลูกค้าตกลงเช่า ได้แก่ ทะเบียนรถ โมเดลของ รถ อัตราค่าเช่า และเงื่อนไขอื่นๆ พร้อมทั้งคำนวณค่าเช่า ตามรายละเอียดที่ลูกค้ายืนยัน ได้แก่ จำนวนวันที่ เช่า ขนาดรถที่เช่า และจัดพิมพ์สัญญาเช่ารถคันที่ลูกค้าตกลงเช่า 8. ลูกค้าเซ็นสัญญาเช่ารถและพนักงานบริการบันทึกการเซ็นสัญญาของลูกค้า 9. ระบบบันทึกเปลี่ยนสถานะของรถคันที่ลูกค้าจะเช่าออกไปเป็น “ไม่ว่าง 10. พนักงานบริการให้กุญแจแก่ลูกค้า พร้อมกับสัญญาคู่ฉบับ แล้วลูกค้าขับรถออกไป < 2. ให้นักศึกษาหา System Event จาก Extentions ของระบบเช่ารถ * *

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยเขียนเพิ่มหน่อยค่ะ

A Z FEST d บอท 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14) 15) มุมความรู้ สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ เลขมวล -p + สัญลักษณ์ของธาตุ เลขอะตอม - P ...... 2³Na 11 16 391 แบบฝึกหัดที่ 2 คำสั่ง : จงตอบคำถามในข้อต่อไปนี้ 1. จงระบุเลขอะตอม เลขมวล และจำนวนอนุภาคมูลฐานของแต่ละธาตุจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุที่กำหนดให้ สัญลักษณ เลขมวล เลขอะตอม นิวเคลียร โปรตอน 12C 14 6 180 8 19F 20 21 10 23 21 "1 32 34 24Mg2+ 12¹ 23A1³+ 40 Ca²+ 20 70. 14N³- 14 160²- 16 15¹ 35C1- 80 35 24 27 Br 35 115 12 22 23 เทคนิคในการจำนวนอนุภาคมูลฐานจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ 1. หาจํานวน 2 - 2 - เลขอะตอม หรือเลขล่าง 2. หาจํานวน e 17 18 ในอะตอมที่เป็นกลาง ไม่มีประจุ) → e = P ในไอออนบวก → e - P - เลขแสดงประจุ ในไอออนลบ → e - p + เลขแสดงประจุ 3. หาจํานวน 0 - เลขมวล - เลขอะตอม หรือ เลขบน - เลขล่าง ● 16 7 8 35 17 71 35 อิเล็กตรอน 6 /1 10 12 10 13 10 20 ๒ 18 10 10 จํานวน 18 36 นิวตรอน 12 12 16 12 14 2 14 60

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สังคมศึกษา มัธยมปลาย

ให้นักเรียนออกแบบ/อธิบายการใช้พื้นที่ดิน การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในด้านการเกษตร การคาและบริการโดยใช้วิทยาศาสตร์การใช้เทคโนโลยี... อ่านต่อ

22:44 กิจกรรมที่ 4 ออกแบบประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในด้านต่างๆ คําชี้แจง... ให้นักเรียนออกแบบ/อธิบายการใช้พื้นที่ดิน การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในด้านการเกษตร อุตสาหกรรม การค้าและบริการโดยใช้วิทยาศาสตร์การใช้เทคโนโลยี การจัดการ สิ่งแวดล้อมและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม จากสถานการณ์ที่กำหนด ให้ ทำลงในกระดาษ A 4 (วาดภาพประกอบ) สถานการณ์ คุณปู่พอเพียง หลังจากเรียนจบ ป.ตรี คุณปู่ได้มอบปัจจัยการผลิตได้ดังนี้ >>> - ที่ดินให้นักเรียนจํานวน 5 ไร่ -ทิศเหนือติดภูเขา al 19 7 -ทิศตะวันออกติดกับสวนผลไม้ของนาย ก -ทิศตะวันตกติดกับสวนยางพาราของนาย ข ทิศใต้ติดถนนสายเชียงคำ - น่าน โดยปลูกลำไย จำนวน 2 ไร่ เงาะ 1 ไร่ มา 5 ปีแล้ว สวนแห่งนี้กําลังให้ผลผลิต... >>>เงินสด 750,000 บาท >>> อาคารเปิดโล่งขนาด 30 ตารางเมตร พร้อมห้องครัว และห้องนํา 1 ห้อง >>>รถไถ ขนาดเล็ก 1 คัน เกณฑ์การประเมินผลงาน รายการประเมิน ขอ 1 ประยุกต์ใช้ครบทุกด้าน (เกษตร อุตสาหกรรม การค้าและบริการ) 2. การใช้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเหมาะสม 3. มีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน 4. ถูกต้องตามหลักปรัชญาศกพ. 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 5. ตรงต่อเวลา 6 ออกแบบได้สร้างสรรค์ สวยงาม ตรงประเด็น เขียนอธิบายการประกอบการออกแบบได้อย่างเข้าใจ รวม ผลงานการออกแบบ คะแนน 9 2 2 5 2 5 5 30

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

วิธีการคำนวณคิดยังไงหรอคะ ช่วยด้วยค่ะ🙏😭

คำชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 5-7 จุดของการไทเทรต ปริมาตรของ CH3COOH 0.1 โมล/ลิตร (cm) 20 20 20 20 20 20 -5 25 °C = 1.8 × 10 และ log 5 || ||| IV V VI กำหนดค่าคงที่การแตกตัวของ CH,COOH ที่ (3) จุดที่ให้การเปลี่ยนแปลงค่า pH น้อยที่สุดเมื่อหยุดการไทเทรต ปริมาตรของ NaOH 0.2 โมล/ลิตร (cm) 3.) 1.30 7.) ที่จุดยุติ (end point) ของการไทเทรต (OH) อยู่ที่โมล/ลิตร 1. 3.7 x 10-11 3. 1.6 × 10-9 ได้มาเติมกรดแก่คือจุดใด 1.) จุดที่ || 3. จุดที่ IV 6. เมื่อทำการไทเทรตถึงจุดที่ VpOH ของสารละลายที่ได้เท่ากับเท่าใด 1. 12.70 0 5 10 15 20 25 = 0.699 ณ จุดนั้น แล้วนำสารละลายที่ 2. จุดที่ III 4. จุดที่ V และ VI 2. 1.00 4. 0.60 2. 1.0 x 10-7 4.) 6.1 x 106

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มัธยมปลาย

ขอแบบอธิบายอย่าละเอียดนะคะ ขอบคุณค่ะ

1. (2x - 3)6 วิธีกา พวงเป็นพระที่ 4 = (6)(²x) (-3) ³ - 20 (2x²) (-3) ³. = 20 ( 8 ) (-24) to คได้ T **** ระสิทธิ์ของพจน์กลางจากการกระจายพหุนามต่อไปนี้ "379 9 - - 4320 X ******** ผม 4 ศ. - 19.00 NOW7 บททวนาม 9 f a 2. (1) การกระจาย) (48) 4 10 คน วิธีทา พจนการจึงเป็น 5 คน 6 Alő T AFT A: T Hin 5+1 4 = (^) (x²) ²-4 (-²) ² 91 = 5! 4! = 18×8×2×1 = 9×71×2 =126 **** = 126 X 10 ingr 9x3942 9-5 (3)(x²)-(-2)² 8 www.g (-1)" x 4 5 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง หลักการนับเบื้องต้น al 9×8×7×12 = 4! 5! = 18*8{2*1 = 9×7*2 = 126 5 = 126 X 16 = 12b 12 b X = -126x² - ป. 4 5 20 121 122 10 - 12 คำชี้แจง : ให้นักเรียนแสดงวิธีทำ 1. มีอาหารคาว 5 ชนิด อาหารหวาน 3 ชนิด และน้ำดื่ม 4 ชนิด ให้เลือกมารับประทานอาหารอย่างละ 1 ชนิด จะมี รายการอาหารคาว อาหารหวาน และน้ำดื่ม แตกต่างกันได้แบบ 5 × 3 × 4 = 60 28 4. มีดอกไม้ 7 ชนิดที่แตกต่างกัน ต้องการนำมาจัดแจกันทีละ 3 ชนิด จะสามารถจัดได้กี่แบบ 2. นักเรียนต้องการเดินทางจังหวัดลำปางโดยออกจากกรุงเทพไปยังอยุธยาได้ 3 เส้นทางและจากอยุธยาไปยัง ลำปางได้ 4 เส้นทาง จะสามารถเดินทางไปและกลับได้โดยไม่ใช้เส้นทางเดิมได้ วิธี 3. กำหนดเลขโดดคือ 0, 2, 4, 7, 9 นำมาสร้างเลขคู่สามหลัก โดยแต่ละหลักห้ามใช้เลขซ้ำกันได้กี่วิธี

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มัธยมต้น

วิชาคณิตศาสตร์เรื่องพาลาโบลา ฟังชันก์กำลังสอง ม.3ค่ะ หาคำตอบพร้อมวิธีทำ ช่วยหน่อยค่ะTT

จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว 1. ข้อใดเป็นฟังก์ชันกำลังสอง n. 2x=y+x²-1 y=4x-5 n. ²+1=2x-x² 1. y-x=2y+1 repi itu cuer 2. กราฟของฟังก์ชัน = (-2) -6 ตัดแกน Y ที่จุดใด sers n. (-1,0) 1. (2,0) 3. กราฟของฟังก์ชัน = (-1) -9 ตัดแกน X ที่จุดใด y= ก. (4, 0) และ (–2, 0) ค. (0, 4) และ (0, -2) A. (-2,0) er 24 (0-2) af OS VERGE ข. (−2, 0) และ (2, 0) ง (4,0) a (-1,0) PUIGNOU POR USS Giu 2 sausi 0sd 0s ou del = dbxch- 4. ข้อใดผิด ก. กราฟของฟังก์ชัน -- 5x+2 เป็นกราฟพาราโบลาด 1 0 5 9 สม - ข. กราฟของฟังก์ชัน = (5-4) เป็นกราฟพาราโบลาค ค. กราฟของฟังก์ชัน y = 2xx-3 เป็นกราฟพาราโบลาค ง. กราฟของฟังก์ชัน y = 4-(x3) เป็นกราฟพาราโบลาค voluernultiulion Cardigrefierna เure to us to s Mhugarheoreun CAP remotionzerwanenhys?..c x + = + (0- 9. y=2x² - 4x-5 5. กราฟของฟังก์ชันใด มีจุด (1, 3) เป็นจุดต่ำสุดของกราฟ และมีจุด (0, 5) เป็นจุดตัดแกน Y f. y=x²-3x+5 A. y=2x²-4x+5 6. จุดยอดของกราฟฟังก์ชัน -- (x+1) - 4 กับ y = (x+1) + 4 ห่างกันที่หน่วย ก. มีจุดยอดเป็นจุดเดียวกัน ข. 6 หน่วย ค. 8 หน่วย (men OS GU portranuncuhiturcarle A VERNORATUVERCŮ J R 3. y=-2x² - 24x+5 คน 2 คน 3 venetrivernu! palecuracekfurt e marinerale) ง. 10 หน่วย 7. กราฟฟังก์ชันคู่ใด มีแกนสมมาตรเดียวกัน n. y=-(x+5)² ňu_y=(x−5)² ₁ y=x² +5 ňu y=(x+5)² A. y=-x+5 ñ y=-(x+5)2 1. y=x²-5 ňu y=-x² +5 2 8. กราฟฟังก์ชัน y = 2x +8x-1 เมื่อเปลี่ยนให้อยู่ในรูป y = a(x-h) + k จะได้ตรงกับข้อใด n. y=-2(x-2)² +15 neruroju. y=-2(x-2)² +7 ofen A. y=-2(x+2)² +15 4. y=-2(x-2)²-7

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยครับ🥲 ข้อ24-25-26-27 วิชาเทอโมไดนามิก

LOil นมาโนบิ SG=03 Mercury SG=136 ดออก เปลี่ยน a ua มวล แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับเทอร์โมไดนามิกส์ 27 1-24 ในขณะทำการบิน นักบินคนหนึ่งอ่านข้อมูลได้ว่าเครื่องบินอยู่เหนือระดับน้ำทะเล 3 km และความดันสัมบูรณ์ เป็น 58 kPa จากข้อมูลที่กำหนดจงคำนวณหาความดันบรรยากาศที่ภาคพื้นดินในหน่วย kPa และ mm Hg เมื่อกำหนดให้ความหนาแน่นของอากาศและปรอทเป็น 1.15 kg/m และ 13,000 kg/m ตามลำดับ (ตอบ 01.8 kPa และ 688 mm Hg) HELIUM D = 10 m PHe = Pair 1 - 4 รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-24 1-25 บอลลูนบรรจุแก๊สฮีเลียมซึ่งมีความหนาแน่น 1/7 เท่าของความหนาแน่นของอากาศ โดยแรงลอยตัวของ บอลลูน (พิจารณาจาก F - Pair balloon) จะผลักดันให้บอลลูนลอยขึ้นในแนวดิ่ง ถ้าบอลลูนมีเส้น ผ่านศูนย์กลาง 10 m และบรรจุคน 2 คน ที่มีมวลคนละ 70 kg จงคำนวณหาความเร่งของบอลลูน เมื่อเริ่มปล่อยบอลลูน (กำหนดให้ Pair = 1.16 kg/m และไม่คิดน้ำหนักของตะกร้าและเชือก) (ตอบ 16.5 m/s²) m = 140 kg Altitude: 3 km P = 58 kPa รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-25 OIL SG=0.85 WATER = 1000 kg/m³ รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-26 1-26 ภาชนะทรงกระบอกสูง 10 m บรรจุน้ำที่มีความหนาแน่น 1000 kg/m และน้ำมันที่มีความถ่วงจําเพาะเท่ากับ 0.85 โดยชั้นของน้ำและชั้น ของนํ้ามันมีความสูงเท่ากัน จงพิจารณาหาความดันแตกต่างระหว่าง ด้านบนและด้านล่างของภาชนะ (ตอบ 90.7 kPa) 1-27 ภาชนะทำอาหารด้วยความดัน (pressure cooker) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วย ประหยัดเวลาในการทําอาหารได้ เนื่องจากสามารถควบคุมความดัน h = 10 m และอุณหภูมิภายในภาชนะให้สูงกว่าภาชนะทำอาหารทั่วไปโดยมีการ ป้องกันการรั่วที่รอยต่อระหว่างตัวภาชนะกับฝาเป็นอย่างดี ทำให้ไอน้ำ ระเหยออกจากภาชนะได้เฉพาะในบริเวณรูตรงกลางของส่วนที่เป็น ฝ่าเท่านั้น ส่วนที่อยู่ตรงกลางฝา ซึ่งเรียกว่า petcock จะเปิดระบาย Pat = 101 kPa atm Petcock PRESSURE COOKER A = 4 mm² รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-27

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0