ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ภาษาไทย มหาวิทยาลัย

ช่วยสรุปจากเรื่องนี้ให้หน่อยนะคะ สรุปการอ่านเพื่อประเมินค่า จากเรื่องนี้ค่ะ

คำชี้แจง : อ่านเพื่อประเมินค่า ข้อ ๒. เรื่อง มิตรภาพ คนเราล้วนมีคำนิยามในสิ่งที่เหมือนกันต่างกันไป เหมือนกับการมองเหรียญหนึ่งเหรียญแต่มองได้หลายมุม บางคนอาจจะว่ามันมี ความโค้ง บางคนอาจมองว่ามันดูเงาวาววับ บางคนอาจจะว่ามันแข็ง ฉะนั้นแล้วเราไม่ควรมองสิ่งต่างๆ เพียงด้านเดียวและไม่ควรตัดสินใจอะไร ต่างๆด้วยการมองเขาเพียงแค่ด้านเดียวเท่านั้น ก็เหมือนกับการสร้างมิตรภาพที่นับวันยิ่งหาได้ยาก หากเรามัวแต่มองเขาเพียงด้านเดียว ตัดสินเขาเพราะเขาเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ก็จะมีแต่เราเองที่เป็นทุกข์ พุทธศาสนาสอนมนุษย์ทุกคนว่า ทุกสิ่งบนโลกใบนี้ล้วนแล้วแต่เป็น “อนัตตา” คือความไม่มีตัวตนอย่าคิดอย่าปองว่าทุกสิ่งเป็นของ ตน แม้แต่ร่างกายที่เราว่าเป็นของเราแต่เรายังไม่สามารถบังคับให้ไม่เจ็บไม่ป่วยได้ แล้วนับอะไรกับมนุษย์และสรรพสัตว์รอบกายของเราเล่า เขา มีจิตใจมีความคิดมีความรู้สึกต่างๆ ตามแบบฉบับของมนุษย์ทุกคน เราไม่สามารถไปกำหนดให้เขามาดพเนินตามเส้นทางที่เราขีดไว้ให้ได้อย่าง แน่นอน “สัพเพ ธัมมา อนัตตา สรรพสิ่งเป็นอนัตตาบังคับบัญชาไม่ได้ เพียงแต่อ่านข้อความนี้ก็ไม่ต้องมีคำนิยามใดๆ ลงมาพ่วงท้ายก็เชื่อว่า หลายคนสามารถตีความข้อความนี้ได้ถูกต้องอย่างแน่นอน ฉะนั้นเรามาสร้างสิ่งต่างๆ รอบกายเพื่อให้เป็นมิตรที่คนเขาเรียกว่ามิตรภาพที่ดีแก่ตัว มิตรภาพไม่ได้จำกัดอยู่ที่เพื่อนที่เดินไปโรงเรียนหรือที่ทำงานแล้วเจอกันเท่านั้น เพื่อนหรือมิตรภาพนี้ยังหมายถึงสัตว์เลี้ยงของเรา เรากัน ที่คอยเป็นเพื่อนเล่นกับเราเวลาที่เราเหงา หรือแม้แต่เสาไฟที่คอยส่องแสงสว่างในช่วงเวลากลางคืนที่คอยเป็นเพื่อนที่ดีให้กับคนขับรถอีกด้วย ไม่มีที่ไหนที่เราจะไม่พบคำว่ามิตรภาพ หากมองดูแล้วมันมีความหมายมากกว่าคำนิยามตามพจนานุกรมแน่นอน หลายคนก็หลายความคิด แตกต่าง มิตรเป็นสิ่งที่ยั่งยืนในความหมายของมัน แต่ในทางกลับกันมิตรภาพกับเป็นสิ่งที่ไม่จีรังเอาเสียเลย เราลองมองรอบกายตัวเองดูแล้ว รอบกายของเรากลับไม่เคยเหมือนเดิมเลยสักวัน เหมือนกันการเดินทางที่ไม่มีที่สิ้นสุด ที่แต่ละวันเราต้องเปลี่ยนคนรู้จักร มิตรภาพ การเดินทาง ไปเรื่อย ๆ แต่ภาพของมิตรภาพความทรงจำเก่าๆก็ยังติดอยู่ที่ตรงนี้ที่เรียกว่า จิตใจ ช่วงเวลาที่หลายคนเรียกมันว่า “จุดเปลี่ยน” วัยไหนๆหรือวันไหนๆก็มีจุดเปลี่ยนกันทั้งนั้นไม่มีใครสามารถล่วงรู้อนาคต ที่จะเกินกับเราได้ เราทำได้ดีที่สุดเพียงเดินตามอย่างระมัดระวังเท่านั้น จุดเปลี่ยนนั้น ต่างศาสตร์ต่างความคิดกันไป ตามกฎหมาย แล้วเมื่อถึงอายุที่กำหนดก็จะเปลี่ยนสถานภาพ จากเด็กหญิงตัวเล็กๆ เป็นนางสาวเพียงข้ามวัน แล้วเปลี่ยนเด็กชายเป็นนายโดยไม่รู้ตัว แต่ถ้าตามระบบการศึกษาก็คือเปลี่ยนทุกปีที่จบการศึกษาคือปีก่อนยังเป็นนักเรียนชั้นม.5 แล้วปีนี้ไหนกลายเป็นชั้นม.6 แล้ว รวดเร็ว เหลือเกิน สิ่งที่ผ่านมาสอนอะไรเราบ้าง ทั้งความสุข ความทุกข์ อารมณ์เหงา ดีใจ ซาบซึ้ง สิ่งเหล่านี้ล้วนสอนเราผ่านคำว่ามิตรภาพ ท้งนัน หลายคนอาจเจอมิตรภาพที่ดีมาโดยตลอด กับอีกบางคนที่เจอแต่มิตรภาพที่หลอกลวงอยู่ตลอดเช่นเดียวกัน คนเคย กล่าวว่าเพื่อนเป็นกระจกส่องถึงตัวเรา ก็เหมือนเราอยู่ใกล้ใครคนคนนั้นก็จะเริ่มเปลี่ยน เราก็เริ่มเปลี่ยน จนคล้ายจะเป็นคนที่มีนิสัย ใจคอเดียวกันไปซะแล้ว หากเราเจอแต่เพื่อนที่ดี มิตรภาพที่ยั่งยืน ตัวเราเองก็มีความสุขไปด้วย แต่บางคนเจอเพื่อนที่ดีกลับผลักไส เขาออกห่างจากชีวิตด้วยทิฐิ ต่างๆที่มันเกิดขึ้นกับจิตใจเราด้วยคิดว่าเขาต่างเรา เข้ากันไม่ได้หรอก แล้วเหตุผลสารพัดมารวมกันโดย มิได้นัดหมาย จนสิ่งๆนั้นได้หลุดลอยออกไปจากชีวิต แล้วมันก็เกิดจุดเปลี่ยนตามสถานะภาพของมัน เพื่อนสัมพันธภาพตัดกันไม่ขาด คำนี้ไม่มีใครเถียง แต่บางทีเพื่อนที่ต้องการเวลาในการรักษาจิตใจที่บอบช้ำเหมือนกัน มิตรภาพไม่ได้มีแค่สิ่งสองสิ่งรอบตัวเราแต่มันเป็นทุกสิ่งทุกอย่างรอบตัวเรา เราลองมองแล้วคิดทบทวนให้เวลากับคำว่า มิตรภาพรอบตัวของเราให้มากกว่านี้ ให้ความเข้าใจ เห็นความเป็นไปเท่านั้น แล้วเชื่อว่าอนาคตหรือทุกวันก็เป็นวันที่เราจะก้าวย่าง ไปข้างหน้าพร้อมความมั่นใจ ด้วยกำลังใจจาก “มิตรภาพ” (ปรนันท์ สีบพิมพา, JANUARY ๑๖, ๒๐๑๒)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

วิชาเคมี เรื่องโมลและสูตร

ใบงาน โมลและสูตรเคมี 1. จงหามวลอะตอมของฟอสฟอรัส (P) เมื่อฟอสฟอรัส 1 อะตอม มีมวล 31 x 1.66 x 10 กรัม 2. สมมติธาตุ X ในธรรมชาติมี ไอโซโทปที่ 1 ไอโซโทปที่ 2 จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ X ชื่อ-นามสกุล. ข้อ 5 2 ไอโซโทปคือ เปอร์เซ็นต์ในธรรมชาติ 10 90 มวล 9 3. จงหามวลโมเลกุลของสารต่อไปนี้ มวลอะตอม H=1, C=12, N=14, O=16, S=32, K=39) 3.1 C12H22011 3.2 CO₂... 3.3 H2SO4 3.4 KNO3.. 4. จงเขียนสูตรที่ใช้ในการคำนวณเกี่ยวกับโมล และระบุตัวแปรแต่ละตัวคือค่าอะไร 10 5.1 จงหาจํานวนโมลของเหล็ก (Fe) 12.04 x 10 18 อะตอม 5.2 จงคำนวณหาจำนวนอนุภาคของคริปทอน (Kr) 2 โมล 5.3 จงหาจํานวนโมลของมีเทน (CH4) 48 กรัม เลขที่.... ชน.

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยอธิบายให้ด้วยนะคะ ตอนนี้เครียดมากค่ะ

เอกสารการเรียนการสอนวิชา ฟิสิกส์ 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 6. อลิซต้องการดื่มชาเย็น เขาจึงเทชา น้ำตาล และนมผสมในน้ำร้อน ได้ปริมาณชาที่ปรุงแล้ว 1 แก้ว (250 cm มีอุณหภูมิ 50°C เพื่อที่จะทำให้น้ำชานี้เย็นลง เขาจึงเติมน้ำแข็งที่อุณหภูมิ 0°C ลงไปจำนวน 200 กรัม ถ้ อุณหภูมิผสมเป็น 0°C พอดี ถามว่ามีน้ำแข็งเหลืออยู่กี่กรัม กำหนดให้ ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำชา = 4 kJ/kgK ความหนาแน่นของน้ำชาที่อุณหภูมิใดๆ = 1,000 kg/m M = 950 = ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำแข็ง = 312.5 kJ/kg (ไม่มีการสูญเสียพลังงานความร้อนให้กับภาชนะหรือสิ่งแวดล้อม)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
PromotionBanner
ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยตอบหน่อยค่ะ

จุดประกายความคิด กิจกรรมที่ ใน 100 ร้างหน้า จะมีหลักฐานใดที่จะแสดงถึง เรื่องราวของนักเรียน ในยุคปัจจุบัน 1.1 จากบทความ การใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์วิเคราะห์เหตุการณ์ ประเมินผลตัวชี้วัด ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่าง ๆ ที่ตนสนใจ (ส 4.1 ม.3/2) 1. ให้นักเรียนวิเคราะห์บทความแล้วตอบคำถาม (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) ชนเผ่าไทกลุ่มต่าง ๆ ตั้งถิ่นฐานกระจายอยู่ทั่วไปในบริเวณที่กว้างขวางคาบเกี่ยวกับดินแดน หลายประเทศ มีภาษา ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมและประเพณีคล้ายคลึงกับคนไทยที่อาศัยอยู่ใน ประเทศไทยปัจจุบัน เป็นชนกลุ่มน้อยในประเทศต่าง ๆ เช่น ไทลื้อในดินแดนสิบสองปันนาทางตอน ใต้ของประเทศจีน พวกผู้ไทและไทดำในเวียดนาม พวกไทใหญ่ในรัฐฉานของพม่าและไทอาหม ในรัฐอัสสัมของอินเดีย กลุ่มไทเหล่านี้ส่วนใหญ่ยังคงรักษาวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและประเพณี ดั้งเดิมอยู่ ดินแดนที่ชนเผ่าไทตั้งถิ่นฐานอยู่ได้มีนักประวัติศาสตร์หรือนักวิชาการนำเสนอว่าน่าจะ เป็นถิ่นกำเนิดของชนชาติไทย (1 คะแนน) ทางประวัติศาสตร์ นักเรียนจะตั้งประเด็น คำถามเกี่ยวกับบทความนี้อย่างไร 1.2 จากบทความมีสิ่งใดที่จะใช้เป็น หลักฐานทางประวัติศาสตร์ (2 คะแนน) วิธีการทางประวัติศาสตร์กับการศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ใครทำได้

แบบเลือกตอบ ( 16 คะแนน ) มสารละลาย NaCl เข้มข้น 0.01 mol/ dm 1 50 กรัม ได้มากที่สุดที่ dm , Cl=35.5) dm³ 0.5 dm³ ละลายชนิดหนึ่งเข้มข้น 1 moldm m เมื่อเติมน้ำ 300 cm มเข้มข้น mol/ dm 0.06 mol/dm³ 1. 0.4 mol/dm³ ก.0.0025 กรัม ค. 0.4 กรัม U. 85.5 dm³ 4. 100 dm³ จะได้สารละลาย องการเตรียมสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1 al/dm จำนวน 100 cm จะต้องใช้ NaOH กรัม Na-23, 0-16.H=1) /mol/kg) . 0.1 mol/dm³ 4. 0.67 mol/dm³ n. -4.3°C M. -5.3°C 4.สารละลายชนิดหนึ่ง 100 cm เข้มข้น 2 moldm ถ้าต้องการทำให้มีความเข้มข้นเป็น 0.2 moldm จะต้องเติมน้ำให้มีปริมาตรเป็นเท่าใด n. 2,000 cm³ n. 1,000 cm³ ข. 0.04 กรัม ง. 4 กรัม 5.สารละลายที่มีน้ำมันระกำ 30 กรัม ละลายในเบนซิน 200 กรัม จะมีจุดเยือกแข็งเท่าไร ถ้าน้ำมันระกำมีมวลโมเลกุล 152 (เบนซินมีจุดเยือกแข็ง5.50°C, K เท่ากับ 4.90 t. 2,500 cm³ 4. 100 cm³ 9. 4.3°C 4.0.7 °C 6. จงหาจุดเดือดของสารละลายกลูโคส (Call C 0.2 m (กำหนด ค่า 4 ของน้ำเท่ากับ 0.5 cm. จุดเดือด : 100 °C n. 101.0 ℃ 1.00 °C 4.100.1 °C 7. เมื่อเติมกลูโคส (CH12O) จำนวนหนึ่งในน้ำ จุดเดี และจุดหลอมเหลวของสารละลายเมื่อเปรียบเทียบกั จะเป็นอย่างไร ก. เพิ่มขึ้นและเพิ่มขึ้น ข. ลดลงและลดลง ค. เพิ่มขึ้นและลดลง ง. ลดลงและเพิ่มขึ้น 8. สมการที่ดุลแล้ว จะมีค่า a, b, cd และ e เท่าใด aNO (g) + bCHd(g) cHCN (g) + dH₂O(g) + eH₂ n. 2,2,3,2,1 P. 1,2,2,2,1 9. สมการที่คุณแล้ว จะมีค่า 4,5,6 และ 4 เท่าใด + bo₂ →CCO₂ + H₂O 1.2.2.1 4. 2.4.4,6 aC₂H₂OH n. 2.2.3.2 n. 1,3,2,3 1.2.2.2.2.1 4.2,1,3,2,1 10. สมการที่คุณแล้ว จะมีค่า 35,ะ 4 เท่าใด aCu (s) + bNO₂ (g) -cCuO (s) + N₂ (g) n. 2,7.4.6 n. 2.2.2.4 35 (s) + 2760 @0 จากปฏิกิริยา (ใช้ตอบคำถามข้อ 11-12) 2H₂5 (g) + 5O₂ (g) กำหนดมวลอะตอม 552, H = ID. 16 11. จากสมการเคมี ปริมาณสัมพันธ์ข้อใดไม่ถูกต้อง n. H.SI lue SO, 64 nu MS 3x32 n 12 จะเกิด 5 กรัม เมื่อใช้ 30 32 กรัม 34

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ เเอบงงๆยังไม่ค่อยเข้าใจ

5.1 S = จำนวนวิธีในการสุ่มหยิบหนังสือมา 3 เล่ม จาก 9 เล่ม n(S) = 51 = เหตุการณ์ที่สุ่มหยิบหนังสือมา 3 เล่ม โดยได้ชนิดละ 1 เล่ม มีขั้นตอน ดังนี้ 5.2 ขั้นตอนที่ 1 ตุ่มหยิบหนังสือนิยายมา 1 เล่มจาก 4 เล่ม ได้ ขั้นตอนที่ 2 ตุ่มหยิบหนังสือการ์ตูนมา 1 เล่มจาก 3 เล่ม ได้ ขั้นตอนที่ 3 มหยิบหนังสือนิทานมา 1 เล่มจาก 2 เล่ม ได้ จะได้ n(E1) = ดังนั้น P(E) = ความน่าจะเป็นในการสุ่มหยิบหนังสือมา 3 เล่ม โดยได้ชนิดละ 1 เล่ม P(E₁) = S = จำนวนวิธีในการสุ่มหยิบหนังสือมา 4 เล่ม โดยต้องเป็นนิยาย 2 เล่ม n(S) = E2 = เหตุการณ์ที่สุ่มหยิบหนังสือมา 4 เล่ม โดยต้องเป็นนิยาย 2 เล่ม มีขั้นตอน ดังนี้ จะได้ n(E2) = ดังนั้น P(E2) = ความน่าจะเป็นในการสุ่มหยิบหนังสือมา 4 เล่ม โดยต้องเป็นนิยาย 2 เล่ม P(E2) =

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0