ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะ เดทไลน์พรุ่งนี้ค่ะ ได้แค่ข้อไหนก็บอกได้นะคะ

จงนำตัวเลขจากแผนภาพ มาเติมหน้าข้อความที่สัมพันธ์กันกับตำแหน่งดังกล่าว และตอบ าหารของมนุษย์ 10 - คำถามพร้อมอธิบายขยายความคำถามต่อไปนี้ 1 2 1. เป็นที่อยู่ของแบคทีเรียหลายชนิด 2. มีการย่อยโปรตีนให้เป็นพอลิเพปไทด์สายสั้นลง 3. เป็นบริเวณที่มีการดูดซึมสารอาหารเป็นลำดับสุดท้าย 4. แบ่งออกเป็น 3 ส่วน แต่ละส่วนทั้งทำหน้าที่ย่อย และ 3. 4 ดูดซึมสารอาหาร .. 5. ทำให้ลิพิดแตกตัวเป็นหยดเล็ก ๆ 5 6. ตำแหน่งใดมีการย่อยอาหารมากที่สุด และย่อยสารอาหารประเภทใดบ้าง สำไส้เด็ก ข่อยอาหารประเภท โปรตีน คาร์โบไฮเดร ซีเดรต และไขมัน 7. ตำแหน่งใดที่เนื้อเยื่อผิวด้านใน มีลักษณะเป็นเส้นเล็ก ๆ คล้ายนิ้วยื่นออกมา สิ่งนั้นเรียกว่าอะไร และสำคัญ อย่างไร อุดกีตนกรอาหาร 8. ตำแหน่งใดที่มีความเป็นกรดค่อนข้างมาก และกรดดังกล่าว เกิดขึ้นได้อย่างไร 9. ตำแหน่งใดที่เกี่ยวข้องกับอาการท้องเสีย และตำแหน่งดังกล่าวเกี่ยวข้องอย่างไร 10. ตำแหน่งใดที่ส่งผลต่ออาการท้องผูก และตำแหน่งดังกล่าวส่งผลต่ออาการท้องผูก อย่างไร 11. วิตามินที่ละลายในไขมัน เช่น วิตามิน A, D, E และ K จะถูกดูดซึมที่ตำแหน่งใด และการดูดซึมวิตามินกลุ่ม ดังกล่าว มีการดูดซึมแตกต่างจากวิตามินกลุ่มอื่น อย่างไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะทำไม่ทันจริงๆค่ะ

การย่อยอาหารของมนุษย์ 11 การดูดซึมสารอาหาร จากแผนภาพดังต่อไปนี้ เป็นการดูดซึมสารอาหารของแต่ละตำแหน่ง จงเติมสารอาหารที่ถูกดูดซึม ในแต่ละตำแหน่ง รวมถึงวิธีการ หรือลักษณะการดูดซึมให้ถูกต้อง กระเพาะอาหาร ดูดซึม วิธีการดูดซึม Active transport ลำไส้ใหญ่ ดูดซึม ลำไส้เล็ก ดูดซึม B7, B9, B12 Glycerol สังเคราะห์ E. coli ER ในเซลล์เยื่อบุผิวของวิลลัส Glycerol Triglyceride กรดไขมัน ipid + Proteini วิตามิน Hepatic portal vein { A, D, E, K } หลอดน้ำเหลืองฝอย จากโครงสร้างต่อไปนี้ สามารถพบได้ที่ส่วนใดของระบบย่อยอาหาร และโครงสร้างดังกล่าว มีความสำคัญอย่างไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยทุกคน

0 ปี 37% 16:49 - IMG_2021092. ใบงานที่1 เลือกคำที่กำหนดให้แล้วนำไปเติมหน้าข้อความที่มีความสัมพันธ์ เบเนดิกซ์ ซูโครส ฟอสโฟลิพิด กรดไขมันอิ่มตัว ไบยูเร็ต เอ็มอาร์เอ็นเอ เซลลูโลส อัลบูมิน มอลโทส ไกลโคเจน เคซีน โกลบูลิน กรดไขมันไม่อิ่มตัว ฟรักโทส กาแลกโทส วิตามินดี 4. 4. กลีเซอรอล เคราทิน วิตามินอี ดีเอ็นเอ 1. น้ำตาลที่พบมากในผลไม้สุก 2. เป็นองค์ประกอบหลักของเยื่อหุ้มเซลล์ 3. ส่วนใหญ่พบในไขมันจากสัตว์ และไขมันจากพืชบางชนิด เช่น น้ำมันมะพร้าว 4. พบในโครงสร้างของผนังเซลล์พืช 5. พบในไข่ขาว 6. ใช้ทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว 7. โปรตีนในน้ำนม 8. สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ + สารละลายคอปเปอร์ (I) ซัลเฟต 9. มีโครงสร้างคล้ายกับอะไมโลเพกทิน แต่สายโมเลกุลจะสั้นและแตกแขนงมากกว่า 10. พบมากในข้าวมอลต์ และเมล็ดธัญพืชที่กำลังงอก 11. เป็นสารในกลุ่มแอลกอฮอล์ มีสูตรโครงสร้าง คือ CH,O, มีความสำคัญในการสร้างกระดูกและฟัน 13. มีโครงสร้างโมเลกุลเป็นสายพอลินิวคลีโอไทด์ 2 สายพันกันเป็นเกลียว เป็นน้ำตาลที่เกิดจากน้ำตาลกลูโคส 1 โมเลกุล เชื่อมต่อกับน้ำตาลฟรักโทส โมเลกุล 15. ทำหน้าที่เป็นแม่พิมพ์ในการสร้างโปรตีน หรือนำข้อมูลทางพันธุกรรมจาก DNA 12. 14. 1 ไปใช้สร้างโปรตีน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
PromotionBanner
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยตอบหน่อยค้าไม่เข้าใจ

ในงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ส่วนประกอบของอาหาร ชื่อ ขั้น าเลขที่ ด้วชี้วัด 11.2 ป.6/2 บอกแนวทางในการเดือกรับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถคนในสัตส์พนที่เหมายสนศ็เพศแดย รวมทั้งความปลอดภัยต่อสุขภาพ คำขี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย / ในช่องของสารอาหารที่ประกอบในอาหารที่กำหนดใหด้ อาหาร โปรตีน คาร์โบไฮเดรด ไขมัน วิตามิน แร่ธาตุ น้ำ 1. ข้าวเกรียบกุ้ง 2 น้ำแอปเปิ้ล 3 ขนมปังปอนด์ 4. น้ำ 5. โจ๊กหมูใส่ปาท่องโก้ 6. ลาบปลาดุก 7 ส้มตำ 8. ก๋วยงั๊บกับน้ำลำไย 9 ข้าวมันไก่ ต้มจืดฟัก และบัวลอย 10. ขนมจีนน้ำยา 11. โรตีสายไหม 12. ไข่ดาว ไส้กรอก กับ น้ำนม 13. สลัดผักใส่ไก่ฉีก 14. ไอศกรีมวนิลา 15 หมูสามขั้นทอด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

รบกวนหน่อยครับ

21:21 น. 73% การตกไข่ 57. เมื่อนำเลือดหญิงตั้งครรภ์ 5 เดือน ไปตรวจจะพบระดับฮอร์โมนตามข้อใด ระดับสูง ระดับต่ำ 1. LH E FSH P 2. FSH E LH P น. 3. LH P FSH E P LH E E = estrogen 4. FSH P FSH P = progesterone 5. LH E 58. สารและฮอร์โมนในข้อใดเกี่ยวข้องกับตับอ่อนและตับของคน 1. ก = กลูโคส, ข = ไกลโคเจน, ค = อินซูลิน, ง = กลูคากอน 2. ก = ใกลโคเจน, ข = กลูโคส, ค = อินซูลิน, ง = กลูคากอน 3. ก = ไกลโคเจน, ข = กลูโคส, ค = กลูคากอน, ง = อินซูลิน 4. ก = กลูโคส, ข = ไกลโคเจน, ค = กลูคากอน, ง = อินซูลิน 5. ก = ไกลโคเจน, ข = กลูโคส, ค = อินซูลิน, ง = คอร์ติซอล | น้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ตับออนส น้ำตาลในเลือดต่ำลง ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ 59. เมื่อนำปัสสาวะของนางมะลิมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์ แล้วนำไปต้มจนเดือดได้ตะกอนสีอิฐของ Cu,0 แสดงว่านางมะลิขาดฮอร์โมนชนิดใด 1. อินซูลิน 4. คอร์ติซอล 3. โพรเจสเทอโรน 2. กลูคากอน 5. แอนติไดยูเรติกฮอร์โมน (ADH) 60. ในการสังเคราะห์อินซูลินของเซลล์ตับอ่อน จะมีการทำงานร่วมกันของออร์แกเนลล์ตามลำดับขั้นตอนคาม ข้อใด ข. เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม ค. กอลจิบอดี ก. นิวเคลียส ง. ไลโซโซม จ. ไรโบโซม 3. ก * ค -+ ข +ง 1. จ %ข * ค ง 2. จ *ข *ง * ค 4. ก + ป * ข * ค 5. ก + ป + ข * ค *ง จากผลการวัดระดับน้ำตาลในเลือดของนาย ก. 61. และนาย ข หลังจากรับประทานอาหารประเภท คาร์โบไฮเดรต เปรียบเทียบกับนาย ค ขณะว่ายน้ำ 200F 150 ถ้านาย ก และนาย ข ออกกำลังกายโดยว่ายน้ำ อย่างหนักเหมือนนาย ค ระดับน้ำตาลในเลือด 100 50 0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 ควรเป็นอย่างไร ช่วงเวลาหลังจากรับประทานอาหาร (ชม.) 1. ก> ค > ข น 2. ก > ข > ค 3. ก = ข = ค 4. ภ ใกล้เคียงกับ ข แต่สูงกว่า ค. 5. ข ใกล้เคียงกับ ค แต่ต่ำกว่า ก. 62. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกลไกการออกฤทธิ์ของฮอร์โมน ก. ตัวรับฮอร์โมนพวกโปรตีนและสเตอรอยด์จะอยู่ที่ตำแหน่งต่างกันของเซลล์ ข. ฮอร์โมนพวกเพปไทด์และเอมีนสามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ ค. ฮอร์โมนพวกสเตอรอยด์เกี่ยวข้องกับตัวนำข่าวสารตัวที่สอง 1. ข้อ ก 2. ข้อ ข 3. ข้อ ก และ ข 4. ข้อ ข และ ค 5. ข้อ ก, ข และ ค 63. ไต ต่อมไทรอยด์ และต่อมพาราไทรอยด์ ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมควบคุมการทำงานในข้อใดร่วมกน 1. ปริมาณน้ำตาลในเลือด 4. การเจริญเติบโตของร่างกาย 2. ความดันเลือด 3. ปริมาณแคลเซียมไอออนในเลือด 5. ปริมาณ Na, K', CI ในเลือด ถ้าตัดอวัยวะ A ออกจะไม่มีผลกระทบต่อข้อใด 1. การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด 64. ระดับน้ำตาลในเลือด (mg/100 cm)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

🙏🏻🙏🏻🙏🏻🙏🏻🙏🏻

14. ผู้ที่รับประทานอาหารมังสวิรัติจะไม่ขาดกรดอะมิโนที่จำเป็น คือ methionine และ lysine ซึ่งมถั่ งมีถั่วและ ข้าวโพด ตามลำดับ หากรับประทานอาหารตามข้อใด 1. อาหารที่ปรุงจากถั่วและข้าวโพดวันละ 1 มื้อ ทุกวัน 2. อาหารที่ปรุงจากถั่วและข้าวโพดสลับวันกัน 3. อาหารกลางวันปรุงจากข้าวโพดและอาหารเย็นปรุงจากถั่ว 4. อาหารปรุงจากถั่วหรือข้าวโพดอย่างเดียวแต่ละวันตามฤดูกาล 15 โครงสร้างของสารเคมีใดที่สามารถสร้างพันธะเพปไทด์ได้ NH, CH, C-H CH, H-C-OH SH,-0--๕ CH-0-2-" CH, HO -C-H H,C CH) H-C-OH =0 H,N -C-COOH H-C-OH H CH,OH CH,-0-C-R" H A B C D 1. A 2. B 3. C 4. D 16. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อให้ความร้อนกับอาหารเป็นเวลานานจนสายเพปไทด์สลายตัวเป็น กรดอะมิโน 1. การเสียสภาพ (denaturation) 2. ไฮโดรไลซิส (hydrolysis) 3. ไกลโคไลซิส (glycolysis) 4. ฟอสโฟรีเลชั่น (phosphorylation) 17. ข้อใดไม่มีการแปลงสภาพของโปรตีน 1. การบีบมะนาวในกุ้งเต้น 2. การใส่เกลือแกงลงในเนื้อหมู 3. การต้มไข่ในน้ำเดือดประมาณ 5 นาที 4. การเช็ดผิวหนังด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 18. โมเลกุลของสารในข้อใดประกอบด้วยโปรตีน A เคราทินของเส้นผม

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่า🥺🙏🏻

00:46 ศ. 30 ก.ค. จ 100% + X แบบฝึกหัด สารชีวิโมเลกุล1.pdf ป่า 0 ปี แบบทดสอบเก็บคะแนน เรื่องสารชีวโมเลกุล 1. ข้อใดเป็นจริงสำหรับแป้งและเซลลูโลส 1. เป็นพอลิเมอร์ของกลูโคส 2. ถูกย่อยในลำไส้ของคน 3. เป็นองค์ประกอบของผนังเซลล์พืช 4. เป็นแหล่งสะสมพลังงานในพืช 2. ถ้าต้องการสกัดสารไคทินจากผนังลำตัวหรือผนังเซลล์ ควรเลือกใช้สิ่งมีชีวิตกลุ่มใด 1. จิ้งหรีด ราขนมปัง 2. ตะขาบ สาหร่าย 3. ปลิงทะเล แบคทีเรีย 4. แม่เพรียง ยีสต์ 3. ในการทดสอบชนิดของน้ำตาลด้วยสารละลายเบเนดิกต์ที่ต้มในน้ำเดือด หากสารที่ทดสอบเป็น sucrose จะ ได้ผลเป็น เช่นไร 1. สารละลายสีส้มแดง 2. ตะกอนสีส้มแดง 3. สารละลายสีเขียวอมฟ้า 4. ตะกอนสีเขียวอมฟ้า 4. ข้อใดบ้างที่เมื่อย่อยเป็นโมเลกุลเดี่ยวแล้วสามารถทำปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์ได้ A fructose B maltose C Sucrose D glycogen 1. A B 2. B C 3. B D 4. B C D 5. ข้อใดเกี่ยวข้องกับไขมัน A ช่วยละลายแร่ธาตุละลายในเยื่อหุ้มเซลล์ แพร่เข้าสู่เซลล์ได้ B ช่วยให้สารอาหารมีการดูดซึม C ช่วยให้วิตามิน A C D และ E ถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้ D ช่วยให้ผิวหนังไม่แห้งและตกกระ 1. A B C 2. B C D 3. A C D 4. A B D

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0