ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ภาษาไทย มัธยมต้น

ไม่ทราบตอบข้อไหนบ้างคะ หนูทำไม่เป็นค่ะ🥰😊

39) "แม่พิมพ์" หมายถึง แบบที่ใช้หล่อเป็นรูปต่างๆ คำว่า "แม่พิมพ์" คือคำในข้อใด 1. คำที่มีความหมายโดยตรง 2. คำที่มีความหมายโดยนัย 3. คำที่มีความหมายเปรียบเทียบ 4. คำที่อ่านแล้วต้องตีความ 40) "ปลาหาง" คือคำสุภาพของคำใด 1. ปลาสลิด 2. ปลาช่อน 3. ปลาไหล 4. ไม่มีข้อใดถูกต้อง 41) ข้อใดไม่ใช่คำราชาศัพท์ที่เป็นคำนาม 1. พระศอ พระแท่น 2. พระพักตร์ ถุงพระบาท 3. พระปราง พระมาตุจฉา 4. พระเขนย พระราชทาน 42) ข้อใดใช้คำว่า "ทรง" ไม่ถูกต้อง 1. ทรงยินดี ทรงพระกรุณา ทรงโปรด 2. ทรงชุบเลี้ยง ทรงพระเมตตา ทรงรถ 3. ทรงงาน ทรงปืน ทรงพระราชยาน 4. ทรงฟุตบอล ทรงดูแล ทรงธรรม 43) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้พระนามแฝงในการพระราชนิพนธ์ บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก ว่าอย่างไร 1. นายแก้วนายขวัญ 2. อัศวพาหุ 3. รามจิตติ 4. พระขรรค์เพชร ความคิดขวางเฉไฉไม่เข้าเรื่อง 44) "ใครดูถูกผู้ชำนาญในการช่าง เหมือนคนป่าคนไพรไม่รุ่งเรือง จะพูดด้วยนั้นก็เปลืองซึ่งวาจา" จากคำประพันธ์นี้มีการใช้ภาพพจน์แบบใด 1. บุคลาธิษฐาน 2. นามนัย 3. อุปมา 4. สัญลักษณ์ 45) "เหลือบเห็นสตรีวิไลลักษณ์ พิศพักตร์ผ่องเพียงแขไข งามโอษฐ์งามแก้มงามจุไร งามนัยน์เนตรงามกร" คำประพันธ์นี้ใช้โวหารแบบใด 1. สัลลาปังคพิสัย 2. เสาวรจนี้ 3. พิโรธวาทั้ง 4. นารีปราโมทย์ 46) นางผีเสื้อเหลือโกรธพิโรธร้อง มาตั้งซ่องศีลจะมีอยู่ที่ใหน ช่างเฉโกโยคีหนีเขาใช้ ควรเติมคำประพันธ์ตามข้อใด 1. เสียงกึกก้องโกลาลูกตาโพลง 3. ไม่อยู่ในศีลสัตย์มาตัดรอน 2. จะราญรอนรบเร้าเฝ้าตอแย 4. พลางเช่นเขี้ยวเคี้ยวกรามคำรามร้อง สรุปเข้ม O-NET ม.3 พิชิตสอบเข้า ม.4 มั่นใจเต็ม 100

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ🙏

แบบฝึกที่ ๓ นำตัวอักษรหน้าข้อความด้านซ้าย เดิมลงในช่องว่างหน้าข้อความด้านขวาที่มี ความหมายสัมพันธ์กับคำที่ขีดเส้นใต้ จากนั้นสรุปความที่ได้จากบทประพันธ์ บัดนั้น ตะหมังรับสั่งใส่เกศา ให้โยธาถางที่นี่นัน ก. ปุโรหิต ออกมาเกณฑ์กันดังบัญชา บัดนั้น รับสั่งบังคมลาคลาไคล ตำมะหงงกุเรปันกรุงใหญ่ ข. มหาดเล็ก ออกไปจัดทัพฉับพลัน ต่างองค์ขึ้นทรงม้าต้น กิดาหยันพี่เลี้ยงเคียงพาชี พร้อมพลจตุรงค์ทั้งสี่ ถวายกลดโหมดสีต่างกัน ค. สมุหราชมณเฑียร ยาสาบังคมบรมนาถ จึงดำรัสตรัสสั่งไปทันที เบิกทูตถือราชสารศรี ให้เสนีนำแขกเมืองมา ง. สมุหพระนครบาล ครั้นถึงจึงไปแจ้งกิจจา แก่ปาเตะเสนาผู้ใหญ่ โดยได้เห็นสิ้นทุกสิ่งอัน จ. สมุหกลาโหม เล่าความแต่ต้นจนปลายไป การสรุปความ ๒ การตั้งทัพในที่ที่มี เห็นละหานธารน้ำไหลหลั่ง จึงดำรัสตรัสสั่งเสนี ร่มไทรใบบังสุริย์ศรี ให้ตั้งที่นาคนามตามตำรา ก. ไม้ใหญ่ การตั้งทัพในพื้นที่ ที่ใกล้น้ำ พิธีตัดไม้ที่ชื่อเหมือน หรือคล้ายกับชื่อศัตรู พิธีประตูป่า ๑ ต้นบนเนิน ฟังคำโหราหาฤกษ์ใหม่ หนักหน่วงน้ำพระทัยดูให้ดี ข. ขอพระองค์จงกำหนดงดยาตรา อันการยุทธ์ยิงชิงชัย พอได้ศุภฤกษ์ก็ลั่นฆ้อง ประโรหิตฟันไม้ข่มนาม ประโคมคึกกีกก้องท้องสนาม ค. ทำตามต่ำราพิชัยยุทธ์ โอมอ่านอาคมคาถา ชีพ่อก็เบิกโขลนทวาร เสด็จทรงช้างที่นั่งหลังคา ครั้นถึงเนินทรายชายทุ่ง ง. คลาเคลื่อนโยธาทุกหมวดกอง แว่นแคว้นแดนกรุงดาหา ที่ต้องนามครุฑาเกรียงไกร การทำนายดวงชะตา จ. จึงให้หยุดกองทัพตั้งพลับพลา การสรุปความ

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ🙏

แบบฝึกที่ ๓ นำตัวอักษรหน้าข้อความด้านซ้าย เดิมลงในช่องว่างหน้าข้อความด้านขวาที่มี ความหมายสัมพันธ์กับคำที่ขีดเส้นใต้ จากนั้นสรุปความที่ได้จากบทประพันธ์ บัดนั้น ตะหมังรับสั่งใส่เกศา ให้โยธาถางที่นี่นัน ก. ปุโรหิต ออกมาเกณฑ์กันดังบัญชา บัดนั้น รับสั่งบังคมลาคลาไคล ตำมะหงงกุเรปันกรุงใหญ่ ข. มหาดเล็ก ออกไปจัดทัพฉับพลัน ต่างองค์ขึ้นทรงม้าต้น กิดาหยันพี่เลี้ยงเคียงพาชี พร้อมพลจตุรงค์ทั้งสี่ ถวายกลดโหมดสีต่างกัน ค. สมุหราชมณเฑียร ยาสาบังคมบรมนาถ จึงดำรัสตรัสสั่งไปทันที เบิกทูตถือราชสารศรี ให้เสนีนำแขกเมืองมา ง. สมุหพระนครบาล ครั้นถึงจึงไปแจ้งกิจจา แก่ปาเตะเสนาผู้ใหญ่ โดยได้เห็นสิ้นทุกสิ่งอัน จ. สมุหกลาโหม เล่าความแต่ต้นจนปลายไป การสรุปความ ๒ การตั้งทัพในที่ที่มี เห็นละหานธารน้ำไหลหลั่ง จึงดำรัสตรัสสั่งเสนี ร่มไทรใบบังสุริย์ศรี ให้ตั้งที่นาคนามตามตำรา ก. ไม้ใหญ่ การตั้งทัพในพื้นที่ ที่ใกล้น้ำ พิธีตัดไม้ที่ชื่อเหมือน หรือคล้ายกับชื่อศัตรู พิธีประตูป่า ๑ ต้นบนเนิน ฟังคำโหราหาฤกษ์ใหม่ หนักหน่วงน้ำพระทัยดูให้ดี ข. ขอพระองค์จงกำหนดงดยาตรา อันการยุทธ์ยิงชิงชัย พอได้ศุภฤกษ์ก็ลั่นฆ้อง ประโรหิตฟันไม้ข่มนาม ประโคมคึกกีกก้องท้องสนาม ค. ทำตามต่ำราพิชัยยุทธ์ โอมอ่านอาคมคาถา ชีพ่อก็เบิกโขลนทวาร เสด็จทรงช้างที่นั่งหลังคา ครั้นถึงเนินทรายชายทุ่ง ง. คลาเคลื่อนโยธาทุกหมวดกอง แว่นแคว้นแดนกรุงดาหา ที่ต้องนามครุฑาเกรียงไกร การทำนายดวงชะตา จ. จึงให้หยุดกองทัพตั้งพลับพลา การสรุปความ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยครับ เริ่มตั้งแต่ข้อ4 ครับ ขอบคุณครับ

เรื่อง หัวใจชายหนุ่ม ชั้น ม.4 เอโดเกี่ยวข้องกับผู้แต่งเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม ครูศรีจันทร์ ก. รามจิตติ ข. ครูเทพ ๒. เรื่องหัวใจชายหนุ่ม จัดเป็นงานเขียนประเภทใด ค. น.ม.ส. ง. เขียวหวาน ก. เรื่องสั้น ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องหัวใจชายหนุ่ม ก. เล่าเรื่องโดยใช้รูปแบบจดหม่ายส่วนตัวในการบรรยายความรู้สึกของตัวละคร ข. เรื่องนี้ได้ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ดุสิตสมิตรายเดือนในรัชกาลที่ ๖ เนื้อหาเป็นลักษณะการบันทึกเหตุการณ์ของสังคมไทยระยะการเปลี่ยนแปลง ง. สำนวนภาษาตรงไปตรงมาใช้คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษและใช้คำคะนองปะปนจำนวนมาก ๔. ข้อใดเป็นที่มาของเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม ข. บทความ ค. นวนิยาย ง. บทละคร ๓. ข. มาจากชีวิตจริงของสหายคนสนิทของผู้แต่ง งของผู้แต่ง ก. มาจากประสบการณ์ตรงของผู้เขียน ค. มาจากผู้อ่าน เขียนมาเล่าเรื่อง ๕. คำว่า หัวใจ จากเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม หมายถึงอะไร ง. มาจากการสมมติสร้างตัวละครขึ้นเอ ก. ความรักประเทศชาติของตน ข. ความรู้สึกนึกคิดของคนที่จบจากต่างประเทศ ค. ความรักของหนุ่มสาวไทยโดยทั่วไป ๖. ข้อใดเป็นจุดประสงค์ของประพันธ์ที่เขียนจดหมายถึงเพื่อน ก.เพื่อบรรยายความรู้สึกนึกคิดที่ต้องกลับมาใช้ชีวิตในประเทศไทย ง. ความชื้นชมยินดีที่ได้รับราชการ ข. เพื่อบรรยายความเศร้าโศกในระหว่างการเดินทางกลับประเทศไทย ค. เพื่อบรรยายชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนในระหว่างการเดินทาง ง. เพื่อบรรยายความยากลำบากของตนเองในระหว่างการเดินทางโดยเรือสมุทร ๗. รักเมืองไทย เปรียบเหมือนรักพ่อแม่ เพราะเหตุใดผู้พูดจึงกล่าวเช่นนี้ ก. ต้องอยู่ในกฎระเบียบสังคมต้องทำตามความต้องการของพ่อแม่ ข. ต้องเสียสละทำตนเพื่อประโยชน์ของประเทศ ค. ต้องเทิดทูนแผ่นดินเกิดของตนเหมือนเคารพพ่อแม่ ง. ต้องแสดงความรักและความกตัญญูต่อบ้านเกิดของตน ใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคำถาม ข้อ ๘-๔ แต่นึกสงสารหล่อนจะต้องไปตกอยู่ในหมู่คน อันศิวิไลซ์ จะทนทานไม่ไหวท่านบิดามารดาของฉันนะท่านทำโก้ พอใช้จริงอยู่ แต่พื้นของท่านไม่ใช่ศิวิไลซ์จริงจังดอกนะเพื่อน ส่ง ๔. คำที่ขีดเส้นใต้ มีความหมายว่าอะไร ข. มีคุณค่ายิ่ง ค. คร่ำครี ง. ล้าหลัง ก. เก่าแก่ ๔. ผู้พูดกล่าวด้วยน้ำเสียงอย่างไร ข. เห็นใจ ค. ดูถูก ง.สังเวช ก. แดกดัน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
PromotionBanner
ภาษาไทย มัธยมต้น

ข้อสุดท้าย ตอบ 1 หรือ 2 ครับ

350 สรุปเข้ม ลุยโจทย์ข้อสอบภาษาไทย ม.ต้น (ม.1-2-3) แบบทดสอบเรื่อง พระอภัยมณีตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสง องเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว (จำนวน 20 ข้อ) 1 พระสุนทรโวหาร (ภู่) มีชีวิตรุ่งเรืองในการรับราชการมากที่สุดในสมัยใด 1. รัชกาลที่ 1 2. รัชกาลที่ 2 4. รัชกาลที่ 4 3. รัชกาลที่ 3 3. เรื่องพระอภัยมณีแต่งด้วยคำประพันธ์ชนิดใด 2. กลอนเพลงยาว 1. กลอนบทละคร 3. กลอนนิทาน 4. กลอนนิราศ 3. ลักษณะทางวรรณศิลป์ในการประพันธ์ของสุนทรภู่เป็นอย่างไร 1. ใช้คำเปรียบเทียบ 2. การเล่นคำพ้อง 3. ความหมายลึกซึ้ง 4. การเล่นสัมผัสแพรวพราว 4. ข้อใดเป็นจุดประสงค์สำคัญที่กวีแต่งเรื่องพระอภัยมณี 1. เพื่อขายเลี้ยงชีพ เพื่อให้ข้อคิดในการดำเนินชีวิต 2. เพื่อแสดงฝีมือทางวรรณศิลป์ 3 4. เพื่อประชันฝีมือในการแต่ง 5. พระอภัยมณีไปอยู่กับนางผีเสื้อได้อย่างไร 1 พระอภัยมณีหลงทางในขณะเดินทางกลับเมือง 2. พรอภัยมณีเรือแเตกกลางทะเล 3. พระอภัยมณีถูกนางผีเสื้อจับตัวมา 4 พรอภัยมณีรักนางผีเสื้อ 6. เพราะเหตุใดพระอภัยบณีจึงไม่หนีนางผีเสื้อ 1 เพราะกลัวนางผีเสื้อเสียใจ 3 เพราะห่วงสิ้นสมุทร 2. เพราะเกรงว่านางผีเสื้อจะฆ่าพระองค์ 4. เพราะไม่รู้จะหนีไปที่ไหน 7 เหตุใดสินสมุทรจึงผูกพันกับพระอภัยมณีมาก 1. เพราะนางผีเสื้อไม่เลี้ยงดู 3 เพราะนางผีเสื้อไม่ชอบเด็ก 2 เพราะพระอภัยมณีเลี้ยงดูสินสมุทร 3. เพราะพระอภัยมณีมีคุณธรรมสูง

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 2
ภาษาไทย มัธยมปลาย

สอบถามผู้รู้ค่ะ ช่วยเราหน่อยค่ะ ไม่เข้าใจ

สัปดาห์ที่ 4 (๑๖-๒๑ สิงหาคม ๒๕๖๔ ) ทดสอบหลังเรียน (บทที่ ๓) วิชาภาษาไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ทำลงบนกระดาษ เอ ๔ หรือ กระดาษรายงาน คำสั่ง ให้นักเรียนศึกษาเรื่องบทละครพูดคำฉันเรื่องมัทนะพาทา แล้วตอบคำถามต่อไปนี้ ๑. การวิวิเคราะห์เรื่อง ให้นักเรียนอ่านบทนำเรื่องบทละครพูดคำฉันเรื่องมัทนะพาทา แล้วตอบคำถาม ผู้แต่งเรื่องบทละครพูดคำฉันเรื่องมัทนะพาทา คือ. . มีลักษณะคำประพันธ์เป็น การแต่งเรื่องบทละครพูดคำฉันเรื่องมัทนะพาทาสะท้อนเรื่องใด คือ ๒. การวินิจสาร ให้นักเรียนอ่านเรื่องบทละครพูดคำฉันเรื่องมัทนะพาทา แล้วพิจารณา บุคลิกลักษณะตามการดำเนินเรื่อง แล้วตัดสิน ชอบ/ไม่ชอบ พร้อมอธิบาย เทพบุตรสุเทษณ์มีบุคลิกลักษณะ ..พฤติกรรมที่นักเรียน เพราะ เทพธิดามัทนา มีบุคลิกลักษณะ. พฤติกรรมที่นักเรียน เพราะ ท้าวชัยเสน มีบุคลิกลักษณะ.. .พฤติกรรมที่นักเรียน เพราะ นางจัณฑี มีบุคลิกลักษณะ.. พฤติกรรมที่นักเรียน เพราะ ๓. การวิจารณ์เรื่อง บทละครพูดคำฉันเรื่องมัทนะพาทา ด้านสังคม มีค่านิยมใดจากเรื่องที่สะท้อนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ วัฒนธรรม คล้าย / ใกล้เคียงกับคนไทย จงอธิบายมา ๑ สะท้อนเรื่อง เรื่อง ด้านแนวคิด จากเรื่องนักเรียนได้แนวทางในการประพฤติปฏิบัติตนเรื่องใดบ้าง. ๔. การวิพากย์ เรื่องบทละครพูดคำฉันเรื่องมัทนะพาทา ปมปัญหาของเรื่องนี้คืออะไร. สาเหตุเกิดจากอะไร ผลกระทบ. ถ้าเป็นนักเรียนจะแก้ปัญหาที่ตัวละครใ.. เพราะเหตุใด * ก่อนจะทำอะไรให้นึกถึงผลที่ตามมา" จากข้อความนักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ เพราะอะไรจงอธิบาย ตอบ.. เพราะ เกณฑ์การให้คะแนน ๑. การตรงต่อเวลา ๒. ลายมือสวยงาม ๓. มีความคิดสร้างสรรค์ ๔. ผลงานถูกต้อง

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 2
ภาษาไทย มัธยมปลาย

มีใครรู้ข้อ 16 ไหมคะ;-;

หน่วยที่ ๒ อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง ๒๒๔ 5. ผู้แต่งฯ ทรงพระราชนิพนธ์บทละครไว้ ๒ เรื่อง คือ ๑. ๗. ผู้แต่งฯ ทรงพระราชนิพนธ์บทละครในที่ได้รับการยกย่องว่า "เป็นยอดของบทละครรำ คือ เรื่อง ๒. ๔. วัดประจำรัชกาลของผู้แต่งฯ คือวัด ๔. ผู้แต่งฯ ทรงพระราชนิพนธ์ *บทพากย์ เรื่อง รามเกียรติ์" ไว้ทั้งหมด ตอน คือ ๑๐. ผู้แต่งฯ ทรงเป็นกวีดีเด่นที่ได้รับการยกย่องจากองค์การยูเนสโก (UNESCO) ประจำปี พ.ศ. . นับว่าเป็นคนไทยคนที่ ๑๑. ผู้แต่งฯ ทรงพระราชนิพนธ์บทละครนอกไว้ทั้งหมด เรื่อง คือ ๑๒. "อิเหนา" แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภท. ๑๓. "อิเหนา" ตอนที่นำมาเป็นบทเรียนนี้มีชื่อว่าตอน ๑๔. ในรัชสมัยของผู้แต่งฯ ได้ชื่อว่าเป็น ๑๕. ในรัชสมัยของผู้แต่งฯ ได้มีการแปลวรรณคดีจีนไว้ ๓ เรื่อง คือ ไซ่ฮั่น ห้องสิน และ ๑๖. มีหลักฐานว่าผู้แต่งฯ โปรดการประพันธ์เป็นอย่างยิ่ง หลักฐานนั้นได้จากวรรณคดีเรื่อง ๑๗. ผู้แต่งฯ ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภา เรื่อง ขุนช้างขุนแผนไว้ ๔ ตอน คือ ตอนที่ ๔, ตอนที่ ตอนที่ ผู้สง สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเลยทีเดียว ๑๓, ๑๗ และตอนที่ ๑๔. ผู้แต่งฯ ได้ทรงพระราชนิพนธ์คำประพันธ์ประเภทกาพย์ไว้ ๑ เรื่องคือ . ๑๙. ผู้แต่งฯ ทรงพระราชสมภพขณะที่สมเด็จพระราชบิดาทรงดำรงพระยศเป็นหลวงยกกระบัตรเมือง พรรษา ๒๐. ผู้แต่งฯ เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. ๒๓๖๗ รวมสิริพระชนมายุได้

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมต้น

มีใครพอจะช่วยได้ไหม🙏🏻

4. อ้ายคำนั่งเฝ้านายล้ำ ไม่ไปไหนเพราะเหตุใด 1. ท่าทาง การแต่งตัวของนายล้ำไม่น่าไว้ใจ 2. คอยรับใช้นายล้ำที่อ้างว่าเป็นเกลอของนาย 3. พระยาภักดีนฤนาถสั่งไว้ 5. พระยาภักดีนฤนาถ กล่าวว่า "แกจะมาทำให้แม่ลออเป็นหมาหัวเน่าหรือ?" หมายถึงเหตุการณ์ใด 1. นายทองคำอาจถอนหมั้นแม่ลออ 4. อยู่คุยกับแขกตามมารยาท 2. เจ้าคุณรณชิตอาจคัดค้านการแต่งงานระหว่างลูกชายกับแม่ลออ 3. สังคมจะรังเกียจไม่มีใครอยากคบค้ากับคนที่มีพ่อเป็นคนขี้คุก 4. นายล้ำอาจเป็นภาระให้แม่ลออดูแล 6. "ฮะๆ ! เคราะห์ดีจริง ตกรกซิ" "ตกรก" หมายถึงข้อใด 1. มาจากคำว่า ตกลงไปในพงรก เป็นคำอุทาน 2. มาจากคำว่า ตกนรก เป็นคำอุทาน 3. เป็นคำอุทานหมายถึงโชคดี 7. นายล้ำเปลี่ยนใจไม่บอกความจริงแก่แม่ลออเพราะเหตุใด 4. เป็นคำอุทานหมายถึงโชคร้าย 1. พระยาภักดีเสนอเงินให้ หนึ่งร้อยชั่ง 3. เสียใจที่แม่ลออจำพ่อที่แท้จริงไม่ได้ 2. กลัวพระยาภักดีจะทำร้าย 4. แม่ลออวาดภาพพ่อเป็นคนดี 8. ข้อใดมิใช่ข้อคิดที่อยู่ในเรื่อง "เห็นแก่ลูก" 1. ความรักอันมั่นคงของหนุ่มสาว 3. บ่าวที่ทำหน้าที่อย่างเต็มที่ 2. เพื่อนแท้ที่หวังดีต่อกันเสมอ 4. พ่อที่ละความเห็นแก่ตัวเพราะเห็นแก่ ความสุขของลูก 9. "พระยาภักดีนึกอะไรขึ้นมาออกเดินไปที่โต๊ะเขียนหนังสือ หยิบรูปแม่ลออทั้งกรอบด้วยส่งให้ นายล้ำ" พระยาภักดีทำเช่นนี้มีจุดประสงค์แฝงอย่างไร 1. ให้นายส้ำดูรูปลูกเมื่อคิดถึง 3. นายล้ำควรกลับตัวเป็นคนดีแล้วค่อยมาหาลูก 4. พระยาภักดีจะดูแลแม่ลอออย่างดี 2. นายล้ำไม่ควรมาหาแม่ลอออีก 10. ข้อใด ไม่มีคำซ้อน 1. ฉันไม่สู้แน่ใจ ดูเหมือนจะจำได้คลับคล้ายคลับคลา 2. เมื่อยังอยู่ในบ้านเจ้าคุณผมก็วางใจได้ นี่จะแยกไปมีเหย้ามีเรือนของตัวเองแล้ว 3. ดิฉันรับพรล่วงหน้าไว้ก่อน คุณพ่อคะ ช่วยพูดจาชวนคุณอาให้อยู่รดน้ำดิฉันหน่อยนะคะ 4. เอาเถอะ อย่าวิตกเลย แม่ลออน่ะฉันคงรักถนอมเหมือนอย่างเดิม 11. เรื่อง "เห็นแก่ลูก" เป็นวรรณกรรมประเภทใด 2. เรื่องสั้น 1. บทละครพูด 3. นวนิยาย 4. บทละครร้อง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0