ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่า😭

3.ฟาร์มแห่งหนึ่ง ทำการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของกระต่าย ซึ่งลักษณะสีตาและสีขนควบคุมด้วยยีนบนออโตโซม โดยจากการ ทดลองที่1 ศึกษาสีตา เมื่อนำกระต่ายตาสีฟ้าผสมกับกระต่ายตาสีน้ำตาล พบว่าได้ลูกรุ่น F1 เป็นตาสีฟ้าทั้งหมด และการทดลองที่ 2 ศึกษาสีขน พบว่า alleles ที่ควบคุมสีขนมีการแสดงออกของแต่ละแอลลีลไม่เท่ากัน หากเจ้าของฟาร์มต้องการผสมกระต่ายพ่อพันธุ์ที่มี ลักษณะตาสีฟ้าที่มีขนสีเทาเงิน(chinchilla ) (ซึ่งพ่อมีลักษณะตาสีน้ำตาลและขนสีลำตัวสีขาว ปลายจมูก เท้าและหางสีดำพันธุ์แท้ ) กับ กระต่ายแม่พันธุ์ตาสีน้ำตาลที่มีขนสีขาวทั้งตัว 3.1 เมื่อทำการผสมพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ตามที่เจ้าของฟาร์มต้องการแล้ว ลูกรุ่น F1 จะมี genotype และ phenotype เป็นอย่างไร 3.2 หากนำกระต่ายพ่อพันธุ์ไปผสมกับกระต่ายตาสีฟ้าที่เป็น heterozygous และสีขนเป็น chinchilla พันธุ์แท้ จงหาโอกาสที่ลูก กระเป็นกระต่ายพันธุ์แท้ตาสีฟ้าและขนแบบ chinchilla 3.3 ถ้าเรานำการผสมพันธุ์กระต่ายรุ่น F1 ที่เป็น Heterozygous มาผสมกันเองอยากทราบว่าโอกาสที่จะได้ลูกรุ่น F2 ที่เป็น สฯ. กระต่ายตาสีน้ำตาลขนแบบ chinchilla เป็นเท่าใด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ตอบอะไรบ้างค่ะ?. ขอบคุณค่ะ

แบบทดสอบท้ายบทที่ 1 แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง ให้กาเครื่องหมาย x ลงบนอักษรหน้าคำตอบที่ถูกที่สุด 5. นายสถิต เป็นผู้คิด พูด ปฏิบัติอย่างมีเหตุผล และมีความคิดริเริ่ม นายสถิตมีลักษณะ 1. วิทยาศาสตร์มีความหมายตรงกับข้อใด ก. เป็นวิชาที่ว่าด้วยความจริง ข. มีการทดลอง สังเกตและสรุป ค. เป็นวิชาที่มีไว้สำหรับอธิบายความจริงใน เป็นผู้ใดต่อไปนี้ ก. เป็นนักวิทยาศาสตร์ ข. เป็นผู้ชอบวิทยาศาสตร์ ค. เป็นผู้มีเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ง. เป็นผู้มีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ ง. เป็นวิชาที่ว่าด้วยการใช้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ค้นคว้าความรู้ 6. ท่านเห็นด้วยกับข้อความใดมากที่สุด ก. วิทยาศาสตร์ให้คุณมากกว่าโทษ ข. เทคโนโลยีมีความจำเป็นต่อชีวิตมาก 2. สิ่งที่ไม่ควรกระทำขณะทำการสังเกต ก. ใช้มือบดวัตถุแล้วดูผล ข. นำขนมปังเผาไฟแล้วสังเกตผล ค. นำสิ่งที่จะสังเกตแช่น้ำแล้วดูผล ง. ชิมก้อนแร่ที่มีลักษณะคล้ายเกลือแกง ค. วิทยาศาสตร์ให้โทษมหันต์เมื่อเทียบ กับคุณประโยชน์ที่ได้ ง. วิทยาศาสตร์ให้คุณและโทษพอๆ กันจึงต้องรู้จักใช้อย่างสมดุล 3. วิธีง่ายที่สุดในการหาปริมาตรของดินเหนียว รูปทรงสี่เหลี่ยม ก. ใช้ยูเรก้า หลอดฉีดยา ใช้ยูเรก้าและกระบอกตวง 7. "ฝนตกตอนเช้าในคราวใด อย่าตกใจ ไปเลยท่านโบราณว่าอากาศจะแจ่มใส ข. ค. วัดด้านต่างๆ แล้วนำไปคำนวณ ง. ใช้แทนที่น้ำในบีกเกอร์ขนาดใหญ่ ในต่อมา เชิญสนุกสนานสำราญใจ" เป็นการพยากรณ์อากาศโดยใช้ทักษะใด ก. การสรุป 4. ถ้าต้องการหาปริมาตรของก้อนหิน ข. การสังเกต ที่ไม่เป็นรูปทรงเรขาคณิตควรใช้วิธีใด ค. การทดลอง ก. ทำวิธีใดก็ได้ ง. ตั้งสมมุติฐาน ข. แทนที่น้ำในกระบอกตวง ค. แทนที่น้ำในยูเรก้า แล้วหาปริมาตร ง. แทนที่ของเหลวที่ไม่ละลายในยูเรก้า แล้วหาปริมาตร รายวิชา วิทยาศาสตร์ พ231001 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 39

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ใส่ยังคะตรงช่องว่างไม่ค่อยเข้าใจ

พลังงานไฟฟ้า พลังงานกล เสียง พลังงานความร้อน พลังงานศักย์โน้มถ่วง พลังงานจลน์ ถ่ายโอน 1. พลังงานความร้อนสามารถ จากวัตถุหนึ่งไปอีกวัตถุหนึ่งได้ 2. งานในการยกลูกตุ้มปั้นจั่นขึ้นในแนวดิ่งทำให้.. 3. เมื่อวัตถุเคลื่อนที่บนพื้นฝืด งานจากแรงเสียดทานทำให้.. เป็น.. .ของลูกตุ้มปื้นจั่นมีค่าเพิ่ขึน 1.ของวัตถุมีค่าลดลง ..ของการหมุนของใบพัดแต่ โหรือ 4. พัดลมเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ทำหน้าที่เปลี่ยน.... การทำงานของพัดลมอาจมีการสูญเสียพลังงานไปโดยเปลี่ยนเป็น. ...เป็น..

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ🙏🏻🙏🏻

1. ให้นักเรียนตอบ ถูก หน้าข้อความที่ถูกต้อง และ ตอบ ผิด หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง 1. น้ำเลือดจะทำหน้าที่ลำเลียงสารอาหารที่ย่อยแล้วไปยังเซลล์ต่างๆทั่วร่างกาย 2. เซลล์เม็ดเลือดแดงมีขนาดใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลือดขาวแต่มีจำนวนน้อยกว่า 3. เซลล์เม็ดเลือดขาวลำเลียงแก๊สออกซิเจนไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย 4. เซลล์เม็ดเลือดแดงของมนุษย์ไม่มีนิวเคลียส 5. เซลล์เม็ดเลือดแดงต่อสู้ทำลายเชื้อโรค 16. เฮโมโกลบิน ทำหน้าที่ลำเลียงแก๊สออกซิเจน พบในเซลล์เม็ดเลือดแดง 17. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจนจะถูกลำเลียงโดยละลายในน้ำเลือดแล้วถูก ลำเลียงไปตามหลอดเลือด 8. เกล็ดเลือดมีหน้าที่ป้องกันไม่ให้เลือดแข็งตัว 19. ช่องทางนำอากาศเข้าสู่ร่างกาย มีอยู่ทางเดียว คือ จมูก 10. ระบบทางเดินหายใจแก๊สออกซิเจนจะถูกเปลี่ยนที่ปอด โดยกระบวนการแพร่ 11. การหายใจเข้า กะบังลมจะเคลื่อนที่ต่ำลงปริมาตรช่องอกเพิ่มขึ้น 12. สิ่งที่กำหนดอัตราการหายใจเข้า - ออก คือ ปริมาณแก๊สออกซิเจน 13. หายใจเข้าเต็มที่จะมีอากาศเข้าไปยังปอดเพิ่มมากจนอาจถึง 6,000 cm |14. ปอดได้รับแก๊สออกซิเจนโดยวิธีการแพร่ 15. การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดขึ้น 2 แห่ง คือ ที่หัวใจ และ ปอด 2. ให้นักเรียนเติมคำที่เกี่ยวข้องกับระบบหมุนเวียดเลือดให้ถูกต้อง ระบบหมุนเวียนเลือด ห้องบน เวน เซลล์เม็ดเลือดแดง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยทำหน่อยค่ะ พี่ๆ น้องๆ เพื่อนๆ คนไหนรู้คำตอบมั้งคะ😊

เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบหายใจ เรียงลำดับชื่อส่วนของร่างกาย ในการผ่านของอากาศในการหายใจเข้า รูจมูก โพรงจมูก ห่อลม ถุงลม หลอดลม ๒๕๕ - 4. - กิจกรรม การหายใจเข้าและการหายใจออกเกิดขึ้นได้อย่างไร สังเกตและอธิบายกลไกการหายใจเข้า และการหายใจออกโดยใช้แบบจำลอง การทำงานของปอด สิ่งที่ค้นพบจากกิจกรรม เมื่อดึงแผ่นยางลง ลูกโป่งจะ 1 เนื่องจาก 2. เมื่อดันแผ่นยางลง ลูกโป่งจะ เนื่องจาก ขณะหายใจเข้า ขณะหายใจออก 1. กระบังลมจะ 1. กระบังลมจะ 2. กระดูกซี่โครงจะ 3. ปริมาตรช่องอกจะ 2. กระดูกซี่โครงจะ 3. ปริมาตรช่องอกจะ 4. ความดันในช่องอกจะ 4. ความดันในช่องอกจะ กระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊ส 1. การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดที่บริเวณใดของร่างกายบ้าง ตอบ.

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
การงานอาชีพและเทคโนโลย มัธยมต้น

รบกวนด้วยค่า... Help Me Please.

ตอนที่ 3. ให้นักเรียนนำตัวอักษรด้านขวามือมาเติมในช่องว่างด้านซ้ายมือให้สัมพันธ์กัน ตอนที่ 5 ให้นักเรียนง 1. ผลที่ได้รับจากการขยายพันธุ์พืชแบบอาศัยเพศ ก. การเพาะเลี้ยงเยื่อพืช 2. พืชที่ขยายพันธุ์โดยการแบ่งและแยก 3. วิธีการทำให้กุหลาบมีหลายสีในต้นเดียวกัน 4. ขาวน้ำผึ้ง เป็นหนึ่งในชื่อพันธุ์ 5. พืชที่มีการขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด 6. รากสามารถชำให้เกิดต้นใหม่ได้ ข. ทรายหยาบ ดินร่วนและขี้เถ้าแกลบ ค. การตอนกิ่ง ง. ว่านสี่ทิศ จ. สนชนิดต่าง ๆ ฉ. พืชตระกูลถั่ว ช. มีดขยายพันธุ์หรือคัดเตอร์ ซ. ส้มโอ การตอน 7. ขุยมะพร้าวและกาบมะพร้าว 8. วัสดุชำที่นิยมใช้มากที่สุด 9. อุปกรณ์สำคัญที่ใช้ในการทาบ 10. การขยายพันธุ์พืชที่ใช้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์มากที่สุด ณ. เมล็ด ญ. การติดตา ตอนที่ 4. ให้นักเรียนเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1 เคือการเพิ่มจำนวนพืชให้มากขึ้นด้วยวิธีต่าง ๆ เพื่อดำรงรักษาพืชพันธุ์ที่ดีไว้ไม่ให้สูญพันธุ์ 2. เป็นการขยายพันธุ์โดยไม่ใช้เมล็ด แต่ใช้ส่วนต่าง ๆ ของพืชที่ไม่เกี่ยวกับเซลล์สืบพันธุ์ เช่น ราก ลำต้น กิ่ง ใบเรียกว่าวิธี 3. เคือการนำเมล็ดมาเพาะทำให้เมล็ดงอกและดูแลรักษาให้เจริญเติบโตเป็นพืชต่อไป เป็นการเพาะเมล็ดในภาชนะก่อนนำไปปลูก นิยมเพาะกับพืชที่ย้ายกล้าลำบาก ต้น กล้าที่ได้เมื่อนำไปปลูกลงตั้งตัวเร็วเพราะรากไม่ถูกกระทบกระเทือนมาก 5. การตัดส่วนใดส่วนหนึ่งของค้น รากหรือใบพืชนำไปชำไว้ในวัสดุชำให้ออกราก และแตกยอดเป็นต้นใหม่ 4. ต่อไป เรียกว่า... 6. ประเภทของการตัดชำ แบ่งได้เป็น 7. เคือการทำให้พืชเกิดรากบนกิ่งในขณะที่ยังอยู่บนต้นเดิมเมื่อถึงเวลาออกรากแล้วจึง ตัดมาปลูกที่เรียกว่ากิ่งตอน 8. การนำส่วนของตาของต้นพืชพันธุ์ดีไปติดกับต้นตอ เมื่อเชื่อมประสานกันดีแล้วก็ตัดยอดต้นตอออก ตาที่ นำไปติดนั้นจะเจริญเติบโตให้ดอกผลต่อไปได้ เรียกว่า 9. เพืชที่จะติดตาโดยวิธีนี้เป็นต้นพืชที่ต้นตอลอกเปลือกได้ง่าย มีขนาดไม่โตเกินไป เปลือกไม่บางหรือหนาเกินไป เปลือกไม่เปราะ 10. เป็นการนำพืชที่มีรากจากการเพาะเมล็ดซึ่งเป็นพืชที่แข็งแรงเนื่องจากมีรากแก้วเป็น ต้นตอมาเชื่อมต่อกับกิ่งของต้นพืชพันธุ์ดีที่ทนต่อสภาพแวดล้อม โตเร็ว ทำได้ทุกฤดูกา

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

มีใครได้ข้อ3,4,9ไหมคะ ขอบคุณล่วงหน้าเลย🙏❤️

ทำไมสิ่งมีชีวิตจึงต้องมีการรักษาสมดุลของร่างกาย เอาจมีการปรบ ยวย่นมีใบหู สร้างของร่าง 2. 3. การรักษาสมดุลของร่างกายเกี่ยวข้องกับกระบวนการใดบ้าง จงอธิบาย 4. ของเสียที่มีในโตรเจนเป็นองค์ประกอบเกิดจากการสลายสารอาหารประเภทใด ทั้งสองลักษ และกำจัดออกจากร่างกายอย่างไร 5. ถ้า pH ของเลือดต่ำกว่าปกติ ร่างกายจะมีกระบวนการจัดการอย่างไร 6. การระเหยของเหงื่อขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง อย่างไร 7. การขับเหงื่อของมนุษย์กับการคายน้ำของพืชเหมือนกันหรือแตกต่างกัน อย่างไร 8. เหตุใดผู้ป่วยที่มีอาการท้องเสีย แพทย์จึงให้ดื่มน้ำเกลือแร่ 9. เมื่อนักเรียนไม่สบายมีไข้ เพราะเหตุใดนักเรียนจึงรับประทานอาหารได้น้อยลง 10. ไตเกี่ยวข้องกับการรักษาสมดุลของร่างกายอย่างไร

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
สุขศึกษา มัธยมต้น

ใครมีรูปแบบนี้ในภาพบ้างส่งมาหน่อยค่าา มองรูปไม่ชัดเลยเขียนไม่ได้

ปิด : น่า สยุป ประเมิน Unit Question คำชี้แจะได้นักเรียนคอบต่าถามต่งอไป่นี้ จะลินายการเคลื่อนที่ของแกิตแสา์เจนจากธากาศมายนะกร่างการเข้าสู่ปอต และแกิดหาร์นสนโดยอกไรค์ จากป่อดยอกลู่ยากาศภายนยกร่างกาย (แนวaoบ Unit Question 1. แก๊สกตกซิเจนจากภากาศเคลื่อนที่เข้าสู่ร่างกาย ทางจมูก หรือปาก จากนั้นเคลื่อนต่อไปยัง โพรงจมูก ท่อลม แยกไปตามหลอดลมเข้าสู่ ปอดทั้ง 2 ข้าง เพื่อไปแลกเปลี่ยนแก็สที่ถุงคม ภายในปกด ส่วนแก๊สคาร์นถนโดอกกไซต์ที่เกิด 2. พิจารณาภาพที่กำหนดให้ แล้ดคอบคำธาม่อไปนี้ จากการแลกเปลี่ยนแก๊สนริเวณถุงลมในป่อด อยกสู่อากาศนภายนอก โดยผ่านมายังหลอดลม ท่อลม โพรงจมูก และจมูก ตามลำดับ 2. 21 หมายเลข 1 คือ กระดูกซี่โครง ทำงาน ช่วมกับกล้ามเนื้อยีดกระดูกซี่โครงในการ เปลี่ยนแปลงปริมาตรของช่องกระหว่าง การทายใจเข้าและหายใจยan หมายเลข 2 คีย กะบังดม ทำหน้าที่รั้งปอดลง เพื่อให้ กากาศเข้าสู่ปอดรณะทายใจเข้า และตัน ปอดขึ้นเพื่อไล่อากาศแยกจากปอดขณะ หายใจยอา 2.2 จากภาพ เป็นการหายใจตอก เนื่องจาก กระดูกซี่โครงเลี่ยนต่ำลงและทะนังคมลื่อน สูงขึ้น ทำให้ในช่องยกมีปริมาตรลดลงและ มีความดันเพิ่มขึ้น อากาศจึงถูกค้นออกสู่ 2.1 จากภาพ หมายเลข 1 และหมายเลข 2 คืออวัยวะได มีส่วนช่วยในการหายใจอย่างไร 2.2 จากภาพ เป็นการหายใจเข้าหรือออก เพราะเหตุใด ภายนอกร่างกาย การแลกแปลี่ยนแกิสมีกระบวนการอม่างไร 3. การแลกเปลี่ยนแก๊สเป็นเระบวนการแลกเปลี่ยน แก๊สออกซิเจนกับแก็ตตาชันอนไดออกไซด์ ซึ่งเกิดขึ้น 2 บริเวณ ได้แก่ 1) บริเวณปลด มีการแลกเปที่ยนแก้ตระหว่าง ถุงผมกันหลยดเดือดฝย โดยแก๊สยแกซิเจน แพร่จากถุงดมเข้าสู่หลอดเดือดผอย ส่วน เพราะเหตุดผู้ปายโรหยงผมไปอดยงจตายในเร็วกว่าคนปกติ หน่ายโดทำหน้าที่คำจัดของเสียงเทจากร่างกายได้อย่างไป เพราะเหตุใจึงไม่พบโปรดันและกลูโคตปนออกมากับน้ำปัดสาวะ เพราะเหตุใดแพทย์จึงและนำให้ที่มน้ำสะลาคผ่างมัมแลวันละ 2 โคร แก็สคาร์นแนไตยกใซต์แพร่จากหละดเดิกต ฝอยเข้าสู่ถุงหม 2) บริเวณเซตล์ต่างๆ มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส ระหว่างหลอดเลือดฝ่อยกับเซลล์ โดยแก็ส ถยกซิเจนแพร่จากหลอดเลือดฝอยเข้าสู่เซล์ ส่วนแก๊สตาร์บอนโดออกไซต์แพร่จากเซลล์ เข้าสู่หลอดเลือดฝอย 4. เนื่องจากผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งทองมีผบังถุงลมฉีกขาด พื้นที่ผิวแลกเปลี่ยนแก้สจึงนัยยลง ทำให้แก๊ตกกซีเจนที่ได้รับไม่เทียงพอกับความตัดงการของร่างกาย จึงต้องหายใจเส็วและีกว่าคนปกติ เพื่อให้ได้รับแก้สอยกซิเจนที่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย 6. หน่วยโดทำหน้าที่กรองลารต่างๆ อยกจากเลีอด ซึ่งมีเฉพาะตารขนาดเลิก เช่น น้ำ กลูโคส กรดอะมิโน และของเสียค่างๆ เช่น ยูเชีย ที่ถูกรองเข้าส่ หน่วยใต และสารที่มีประโยชน์ถูกดูดกตับเข้าสู่หลยดเลือดฝอย ทำให้เหลียเฉพาะของเสียท่ผ่านหน่วยไดไปยังท่อไต และใไปรวมยังกระเพาะปัสลาวะเป็น น้ำปัดตาระ เพื่อกำจัดออแจากร้างกายทางท่อมัสสาวะต่อไป 4. เนื่องจากสารที่ถูกกรองผ่านเหน่วยโดเป็นสารที่มีขนาดเล็ก ซึ่งโปรตีนเป็นสารขนาดใหญ่จึงไม่ผ่านการกรองเข้าสู่หน่วยได ส่วนกลูโคสเป็นดารที่มีขนาดเล็ก และเป็นสารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายจึงถูกลูดกลับเข้าสู่หลอดเลียดฝอย ดังนั้น จึงไม่คนไปรตีนและกลูโคลปนแออกมากับน้ำปัดลาวะ 7. การดื่มน้ำสะอาดอย่าเพียงพอเป็นการช่วยให้ไดไม่ทำงานหนักจนเกินไปเพราะไดไม่ต้องกรองน้ำเลือดที่มีความเข้มข้นมากจนเกินไป ทำให้โดทำงานไต้ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งแพทย์แนะนาให้ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยรันละ 8-10 แก้ว หรือบระมาณวันละ 2 ลิตร < 80 / 154 %

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0