ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

สอบถามวิชาชีวะ

แบบฝึกหัดเรื่องลักษณะทางพันธุกรรม คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ต่อไปนี้ 1. ลักษณะทางพันธุกรรม (genetic character) คือ 2. นักวิทยาศาสตร์ท่านใดเป็นคนค้นพบกฎการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 3. หน่วยพันธุกรรมที่ควบคุมลักษณะต่าง ๆ จากพ่อแม่โดยผ่านทางเซลล์สืบพันธุ์ไปยังลูกหลานอยู่เป็นคู่บน โครโมโซม เรียกว่า 4. ลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถปรากฏได้ทุกรุ่น เรียกว่า 5. เมนเดลเริ่มต้นศึกษาพันธุศาสตร์โดยใช้พืชชนิดใดในการทดลอง คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ต่อไปนี้ 1. ให้นักเรียนยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมของนักเรียนที่ได้รับการถ่ายทอดมาจาก พ่อ และแม่ ลักษณะที่เหมือนพ่อ.. ลักษณะที่เหมือนแม่ 2. ลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตสามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้อย่างไร ?

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยย​

มีจีโนไทป์แบบใด 4. จงเขียนพันธุประวัติ (pedigree) ของครอบครัวนี้ พร้อมระบุสัญลักษณ์ที่ใช้ให้ชัดเจน "ชายคนหนึ่งซึ่งมีแม่เป็นโรคตาบอดสีแต่งงานกับหญิงที่เป็นโรคตาบอดสี มีลูก 2 คน - คนแรกเป็นผู้หญิงไปแต่งงานกับผู้ชายตาปกติ มีลูกหนึ่งคนเป็นผู้หญิงตาปกติและอีกคนเป็นผู้ชาย - คนที่สองเป็นผู้ชายแต่งงานกับผู้หญิงตาปกติ มีลูกหนึ่งคนเป็นผู้ชายและอีกคนเป็นผู้หญิงที่เป็นโรคตาบอดสี 5. พ่อแม่คู่หนึ่งไม่เป็นโรคฮีโมฟีเลียมีลูกสาวและลูกชายที่ไม่เป็นโรคเช่นกัน ต่อมาลูกสาวแต่งงานกับชายที่ไม่ เป็นโรคได้ลูกที่ไม่เป็นโรคและเป็นโรคอย่างละหนึ่งคน จงหาว่า 5.1 จีโนไทป์ของพ่อแม่คู่นี้ 5.2 ลูกของลูกสาวที่เป็นโรคคือลูกชายหรือลูกสาว และมีจีโนไทป์อย่างไร 6. หญิงปกติคนหนึ่งมีหมู่เลือด O และมีพ่อเป็นโรค sickle cell anemia แต่งงานกับชายที่มีหมู่เลือด AB และ เป็นโรค sickle cell anemia จงหาโอกาสของลูกที่มีหมู่เลือด A และเป็นโรค sickle cell anemia 7. หญิงศีรษะไม่ล้านที่มีแม่ศีรษะล้านแต่งงานกับชายศีรษะล้านที่มีพ่อศีรษะไม่ล้าน จงหาร้อยละของลูกชาย และร้อยละของลูกสาวที่มีศีรษะล้าน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
PromotionBanner
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ขอแบบละเอียด

10 บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ชีววิทยา เล่ม 2 8. ในครอบครัวหนึ่งสามีภรรยาไม่เป็นโรคฮีโมฟิเลียมีลูกสาวและลูกชายซึ่งทั้งคู่ไม่เป็น โรคฮีโมฟิเลียเช่นกัน ต่อมาลูกสาวแต่งงานกับชายซึ่งไม่เป็นโรคฮีโมฟิเลีย แต่ให้กำเนิด ลูกที่เป็นโรคและไม่เป็นโรคอย่างละหนึ่งคน ถ้าหากแอลลีลที่ควบคุมการเป็นโรคฮีโมฟิเลีย คือ แอลลีลด้อยซึ่งอยู่บนโครโมโซม X (x) และแอลลีลที่ควบคุมลักษณะไม่เป็นโรคคือ แอลลีลเด่น (X") จงหาว่า 10 8.1 สามีภรรยาคู่แรกมีจีโนไทป์เป็นอย่างไร 8.2 ลูกของลูกสาวที่แสดงอาการเกิดโรคฮีโมฟิเลียคือลูกชายหรือลูกสาว และจีโนไทป์ของ ลูกคนดังกล่าวเป็นอย่างไร 8.3 ถ้าลูกชายของสามีภรรยาคู่แรกแต่งงานกับผู้หญิงที่เป็นโรคฮีโมฟิเลียในบรรดาลูกชาย ที่เกิดมาจะมีโอกาสเป็นโรคนี้ร้อยละเท่าใด 9. ตาบอดสีควบคุมด้วยแอลลีลด้อยบนโครโมโซมเพศ (X) ครอบครัวที่ 1 มีลูกสาวสองคนและ ลูกชายหนึ่งคนตามลำดับ และครอบครัวที่ 2 มีลูกสาวปกติ ลูกชายตาปกติและลูกชายเป็น ตาบอดสีตามลำดับ ถ้าลูกชายจากครอบครัวที่ 1 แต่งงานกับลูกสาวจากครอบครัวที่ 2 มี ลูกสาวปกติและลูกชายเป็นตาบอดสีตามลำดับ 9.1 จงเติมสัญลักษณ์ในพันธุประวัติของ 2 ครอบครัวนี้ให้สมบูรณ์ กำหนดให้ 0 แทนผู้หญิงปกติ แทนผู้หญิงเป็นตาบอดสี บแทนผู้ชายปกติ "แทนผู้ชายเป็นตาบอดสี ครอบครัวที่ 1 ครอบครัวที่ 2 I 2 3 4 II 1 2 3 4 5 6 1 2 =

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะ ขอบคุณด้วยนะคะ

แl TRUE-Hจ 16:44 @ 36% X 1.2 โรคท. หน่วยที่ 1 พันธุกรรมและวิวัฒนาการ 1.2 โรคทาลัสซีเมียและผิวเผือก จุดประสงค์ อธิบายหลักการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามหลักพันธุศาสตร์เมนเตล คำชี้แจง แสดงวิธีคิดและตอบคำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. ถ้าพ่อและแม่ เป็นพาหะของโรคทาลัสซีเมียทั้งคู่ จงหาโอกาสที่จะมีลูกเป็นโรคทาลัสซีเมีย (กำหนดให้ T แทนแอลลีล ควบคุมลักษณะไม่เป็นโรค และ t แทนแอลลีล ควบคุมลักษณะเป็นโรคทาลัสซีเมีย ) แม่ พ่อ Genotype phenotype เซลล์สืบพันธุ์ genotype ลูก phenotype ลูก - ลูกจะไม่เป็นโรคทาลัสซีเมียเมื่อได้รับ แอลลีล - ลูกจะเป็นโรคทาลัสซีเมียเมื่อได้รับ แอลลีล ซึ่งมีโอกาสที่ไม่เป็นโรค จากพ่อและแม่ ซึ่งมีโอกาสเป็นโรค มีคนกล่าวว่า "ถ้าลูกคนแรกของสามีภรรยาคู่นี้เป็นโรคทาลัสซีเมีแล้ว ลูกคนต่อไปจะไม่มีโอกาสเป็นโรคอีก นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่เพราะเหตุใด 2. ลักษณะเผือกของคน ควบคุมด้วยแอลลีลด้อย ถ้าหญิงที่มีลักษณะเผือกแต่งงานกับซายที่ไม่มีลักษณะเผือก จะมีโอกาสที่ลูกมีลักษณะเผือก หรือไม่ 3. นายพลเป็นโรคทาลัสซีเมีย คบหากับ น.ส. เต้ย ที่ไม่เป็นโรคทาลัสซีเมีย แต่แม่ของ น.ส.เต้ยเป็นโรคทาลัสซีเมีย ถ้าทั้งคู่แต่งงานกัน จะมีโอกาสที่ลูกไม่เป็นโรคทาลัสซีเมีย เท่าใด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0