ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

นาฏศิลป์ มัธยมต้น

ช่วยย่อหน่อยค่ะ

๑. ความสัมพันธ์ของนาฏศิลป์และการละครกับชีวิตมนุษย์ นาฏศิลป์และการละคร เป็นศิลปะการแสดงที่เกิดขึ้นพร้อมกับพัฒนาการของมนุษย์ เมื่อมนุษย์เริ่มรู้จักคิดประดิษฐ์เครื่องมือ เครื่องใช้ในการล่าสัตว์ รู้จักการเปล่งเสียงสูง-ต่ำ พร้อมกับ การเคลื่อนไหวร่างกายไปตามธรรมชาติ เพื่อสะท้อนอารมณ์ ความรู้สึก จึงเกิดการร้องรำทำเพลงขึ้น และได้มีการสั่งสม ถ่ายทอด และสืบทอดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของแต่ละสังคมมาจนถึงปัจจุบัน มนุษย์ใช้ศิลปะในการร้อง รำ ทำเพลง เป็นเครื่องตอบสนองทางด้านร่างกายและจิตใจ ให้เกิดอารมณ์แจ่มใส ร่าเริง สนุกสนาน นอกจากนี้ ยังทำหน้าที่ตอบสนองความต้องการทางด้าน จิตใจอันเนื่องมาจากความกลัวของมนุษย์ ด้วยการใช้เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวและบำรุงจิตใจ นาฏศิลป์ไทยมีลักษณะเหมือนกับศิลปะการแสดงของนานาชาติที่เริ่มต้นขึ้นด้วยระบำ รำ ฟ้อนก่อน เช่น ฟ้อนพื้นเมือง ฟ้อนบวงสรวงเทพเจ้า ฟ้อนสรรเสริญพระเกียรติของ พระมหากษัตริย์ เป็นต้น นับตั้งแต่สมัยสุโขทัยได้ปรากฏหลักฐานเป็นข้อความในหลักศิลาจารึก ของพ่อขุนรามคำแหงมหาราชว่า “เมื่อจักเข้ามาเวียงเรียงกัน แต่อรัญญิกาพ้นเท้าหัวลาน ด์ บงค์กลอย ด้วยเสียงพากย์ เสียงพิณ เสียงเลื่อน เสียงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลื่อน เลื่อน” (ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช, ลักษณะไทยศิลปะการแสดง, ธนาคารกรุงเทพ) ต่อมาในสมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไท) ก็ได้มีข้อความที่กล่าวถึงความ สัมพันธ์ของนาฏศิลป์และการละครที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ไว้ในหนังสือไตรภูมิพระร่วงใน อุตรกุรุทวีปตอนหนึ่งว่า “บ้างเต้น บ้างรำ บ้างฟ้อน ระบำบรรลือ เพลงดุริยดนตรี บ้างดีด บ้างสี บ้างตี บ้างเป่า บ้างขับสัพพสำเนียง เสียงหมู่นักคุนจุนกัน ไปเดียรดาษ พื้นฆ้อง กลอง แตรสังข์ ระฆังกังสดาล มโหระทึก กึกก้อง ทำนุกดี” (ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช, ลักษณะไทยศิลปะ การแสดง, ธนาคารกรุงเทพ) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการฟ้อนรำ กับมนุษย์มีความผูกพันกันจนไม่สามารถ แยกออกจากกันได้ นับตั้งแต่พระเจ้า ที่มาของภาพ : คลังภาพ ACT. แผ่นดิน ข้าราชบริพาร และประชาชน ทั่วไป ต่อมาจึงได้มีการนำการแสดง นาฏศิลป์มาผูกเป็นเรื่องแสดง ที่เรียกกันว่า “ละคร” การละคร ตะวันออก มีความเป็ และมีสติ ความบัน มนุษย์ได้ ๒. คู่ ประเพณี และให้ค ให้เห็นถึ เป็นเครื่ วัฒนธร ปัจจุบัน เป็นอย่า ที่เด่นชัด ๒.๔ ปลูกฝังใ อันล้ำค่ มีศิลปะ ศิลปะก วัฒนธร เป็นเสมื สร้างสร ประยุก

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ทั้ง2หน้านี้ตอบข้อไรบ้างคะ

12. ข้อใดมีคำที่มาจากภาษาบาลีทุกคำ f.e กีฬา นิมิต ปัจฉิม นิพพาน 13. ข้อความตอนใดมีคำยืมภาษาต่างประเทศน้อยที่สุด 2. เมื่อพูดกับบุคคลอื่นเรายกย่อง ข. ต้องเลือกใช้คำพูดที่สุภาพแสดงว่าให้เกียรติ ค. เมื่อพูดกับผู้ที่มีฐานะทางสังคมเท่า ๆ กัน ง. อาจใช้คำแสดงความเป็นกันเองได้ 14. ข้อใดมีคำที่มาจากภาษาบาลีทุกคำ อมตะ ข. ภักดี ค. พิสดาร ง. ถาวร วัตถุ มัธยม ชีวิต โอรส สตรี ธัญบุรี นิตยสาร ก. บรม เปรต ข. คณะ จักร ค. วิถี ปัทมา ส. ปฐม บงกช อนันต์ 15. ศิลาจารึก หลักที่ 1 ด้านที่ 1 มีเนื้อหากล่าวถึงเรื่องใด ก. การปกครอง ข. สภาพบ้านเมือง ค. การประดิษฐ์อักษรไทย 3. พระราชประวัติของพ่อขุนรามคำแหง 16. ข้อใดเป็นความมุ่งหมายการแต่งตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ก. เพื่อยกย่องนางนพมาศ ข. เพื่อเล่าประวัตินางนพมาศ ค. เพื่อยอพระเกียรติพระร่วงเจ้า ง. เพื่อกล่าวถึงวัฒนธรรมด้านประเพณีที่ปฏิบัติกันในสมัย ก. ลายจารึก ค. ศิลาจารึก สุโขทัย 17. ข้อใดเป็นสาเหตุให้วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้นไม่ค่อย เจริญรุ่งเรือง ก. บ้านเมืองไร้วีนักปราชญ์ ข. พระมหากษัตริย์ไม่ทรงสนับสนุน ค. มีวรรณคดีเก่าตกทอดมามากมาย 4. บ้านเมืองเกิดศึกสงครามบ่อยครั้ง 18. อักษรไทยที่พ่อขุนรามคำแหงทรงคิดประดิษฐ์เรียกว่าอะไร ข. ลายสือไท ง. จารึกไท 19. ลิลิตโองการแข่งเกี่ยวข้องกับเรื่องใด ก. พิธีธงชัยเฉลิมพล ข. พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณ ค. พิธีสวนสนามของทหาร ศ.พี 1. พิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา 20. เนื้อเรื่องของลิลิตยวนพ่ายกล่าวถึงสงครามระหว่างชาติใด ก. ไทย - พม่า ค. ล้านนา - ขอม 21. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของวรรณคดีสมัยสุโขทัย ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศตะวันตก ข. ไทย - เขมร ไทย – ล้านนา ศ. ได้ ข. เป็นวรรณคดีประยุกต์ไม่ได้มุ่งความบันเทิง ค. บรรยายสภาพบ้านเมือง วัฒนธรรมสังคม ง. มีคำไทยโบราณ บาลีสันสกฤตและเขมรปะปนอยู่มาก 22. คําใดรับอิทธิพลมาจากภาษาเขมร กบรรทม ค. กายกรรม ข. กาลเวลา ง. พรรคพวก

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยสอนหน่อยค่ะ ข้อ2 หาพท.ผิว หาพท.ปริมาตร 🥲

ร์ เล่ม 2 มุมฉาก BC, AOCD งเอียงยาว ierback อ้านยาว c งเอียง หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 2 1 2 แบบฝึกหัด 3.1 ค จงหาพื้นที่ผิวข้างของพีระมิดฐานห้าเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่าซึ่งมีฐานยาวด้านละ 10 เซนติเมตร และส่วนสูงเอียงยาว จงหาพื้นที่ผิวของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสซึ่งมีฐานยาวด้านละ 12 เซนติเมตร และส่วนสูงเอียงยาว 12 เซนติเมตร 6 เซนติเมตร บทที่ 3 | พีระมิด กรวย และทรงกลม 3. อาคารแห่งหนึ่งมีลักษณะเป็นพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ซึ่งมีฐานยาว ด้านละ 30 เมตร และมีความสูง 20 เมตร จงหาพื้นที่ผิวข้างของ อาคารนี้ - พีระมิดทำด้วยไม้อันหนึ่งมีฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 6 เซนติเมตร และพีระมิดสูง 4 เซนติเมตร ถ้าต้องการทาสีพื้นผิวของพีระมิดนี้ บริเวณที่ทาสีมีพื้นที่ที่ตารางเซนติเมตร 5. จงหาพื้นที่ผิวของพีระมิดที่มีฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งมีด้านประกอบมุมฉากยาว 32 เซนติเมตร และ 10 เซนติเมตร และมีความสูง 12 เซนติเมตร 6. พีระมิดฐานห้าเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่าซึ่งมีฐานยาวด้านละ 8 เซนติเมตร และมีพื้นที่ผิวข้าง 120 ตารางเซนติเมตร 133 จะมีส่วนสูงเอียงยาวเท่าใด 7. พีระมิดฐานสิบเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า วัดความยาวรอบฐานได้ 56 เมตร และมีพื้นที่ผิวข้าง 224 ตารางเมตร ส่วนสูงเอียงของพีระมิดยาวเท่าใด 8. รูปจำลองของศิลาจารึกอันหนึ่งมีฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสโดยมี ลักษณะและขนาดดังรูป ถ้ารูปจำลองนี้มีปริมาตรทั้งหมด 40,200 ลูกบาศก์นิ้ว จงหา 1) ส่วนสูงเอียงของส่วนที่เป็นพีระมิด 2) พื้นที่ผิวของรูปจำลองนี้ -30 นิ้ว 42 นิ้ว

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
PromotionBanner
ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

งงค่ะหาเท่าไหร่ก็ไม่เจอ ขอด่วนๆเลยนะคะ ส่งวันพน.(25/05/65) หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ม.2

SUTASOL Pre-Test แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre - Test) ได้ คะแนน ชอ นามสกุล เลขที่ ชั้น คะแนนเต็ม 10 คะแนน ให้ระบายคำตอบที่ถูกต้องลงในวงกลมตัวเลือกให้เต็มวง (ห้ามระบายนอกวง) 1. ข้อใดเป็นวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบบการประเมินภายนอก (1) การวิเคราะห์เนื้อหาที่บันทึก 2) ข้อมูลที่บันทึกว่าเป็นกลางหรือไม่ 3) การนำเสนอข้อมูลมีการบิดเบือนหรือไม่ (4) ความน่าเชื่อถือของบุคคลผู้บันทึกเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 2. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดเป็นหลักฐานขั้นปฐมภูมิทั้งหมด 1 พงศาวดาร ศิลาจารึก (2) จดหมายเหตุ อัตชีวประวัติ 3) โบราณวัตถุ ตำราประวัติศาสตร์ (4) โบราณคดี วรรณคดี 3. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดไม่ใช่หลักฐานขั้นทุติยภูมิ วารสาร 2) กฎหมายตราสามดวง 3) หนังสือพิมพ์ (4) ภาษาศาสตร์ 4. ลักษณะของนักประวัติศาสตร์ที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร (1) มีการทดลองศึกษาเพียงครั้งเดียว (2) มีความละเอียดถี่ถ้วน ช่างสังเกต (3) ใช้สำนวนการบันทึกแบบโวหาร (4) ผลสรุปที่ได้จากการค้นคว้าถือว่าเป็นความจริงที่ใครโต้แย้งไม่ได้ 5. ข้อใดเป็นวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบบการประเมินภายใน (1) ประสบการณ์ของผู้เขียน (2) ประวัติและผลงานของผู้บันทึก (3) ความถูกต้องของข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิงชัดเจน 4) ความเป็นนักประวัติศาสตร์ที่มีขั้นตอนการบันทึกข้อมูลที่เป็นกลาง nomin

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สังคมศึกษา มัธยมต้น

ถามผู้รู้คำตอบหน่อยค่ะ🙂

ตอนที่ 2 จงจับคู่ข้อความที่สัมพันธ์กัน โดยเลือกคำตอบที่กำหนดให้ แล้วนำตัวเลือกหน้าข้อความไปใด่ในช่อง .. ตัวเลือกคำตอบ ก สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ค สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยก่อนสุโขทัย สมัยธนบุรี สมัยรัตนโกสินทร์ ข ง จี ฉ คำถาม 1. สมัยที่พระเจ้าตากสินขึ้นครองราชย์ 2. สมัยที่ยังไม่มีลายลักษณ์อักษรเพื่อใช้ในการสื่อสาร 3. สมัยที่พ่อขุนรามคำแหงทรงประดิษฐ์หลักศิลาจารึก 4. รัชกาลที่ 1 ทรงครองราชย์และต่อมาได้มีการสถาปูนากรุงเทพฯเป็นเมืองหลวง 5. เริ่มมีการปกครองแบบจตุสดมภ์และจัดระบบสังคมแบบศักดินา 6. สมัยเริ่มต้นประวัติศาสตร์ใทยประมาณปี พ.ศ. 800 ตอนที่ 3 จงตอบคำถามต่อไปนี้ โดยเลือกคำตอบที่กำหนดให้ แล้วนำหมายเลขหน้าข้อความไปใส่ในช่องด้านล่าง ตัวเลือกคำตอบ 6. อักษรคิวนิฟอร์ม 1. กำแพงเมืองจีน 7. ปราสาทนครวัด 8. บันทึกของนักเดินทาง 2. เทวรูป 3. เครื่องสังคโลก 9. จดหมายเหตุ 4. พงศาวดารไทย 10. ศิลาจารึกพ่อขุน 5. ตำหนักฮ่องเต้ คำถาม จงพิจารณาตัวเลือกข้างบนแล้วนำหมายเลขใส่ในช่องด้านล่างให้ถูกต้อง หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยคะ

"ครั้นศักราช กา ปีแลูศก ญ วันอาทิตย์ ขึ้น ๕ คน เดือน 6 ขน รวงศาร พเจ้าแลงนดน คอกัน กับแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์ให้เอาพระยอดฟ้าไปประหารชีวิตเดีย นน วัดโคสาพระยา แต่พระศรีดปี น้องชาย พระชนม์ได้เจ็ดพรรษานั้นเลี้ยงไว้ สมเด็จพระยอดฟ้าอยู่ในราชเสมบัติปีกับสองเดืยน ใบงานที่ 2 การใช้ศักราชในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย กรนีด้วยอาที่ 1 ที่มา พงศาวคารฉบับพระราชหัตถเลขา 1. จากกรณีตัวอย่างเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยใด 2. เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นศักราชใด 3. เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นเมื่อใด กรณีตัวอย่างที่ 2 "..ภายหลังมานับถอยหลังขึ้นไปในรัตนโกสินทร์ศุก ๘๕ มีจีนคนหนึ่งชื่อเจ๊กฮง จัดตั้งโรงรับจำนำ ขึ้นโรงหนึ่งที่ริมประตูผีนี้เอง..." ที่มา : วารสารวชิรญาณวิเศษ เล่ม 5 รัตนโกสินทร์ ๑๐๕ 1. จากกรณีตัวอย่างเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยใด 2. เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นศักราชใด 3. เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นเมื่อใด กรณีตัวอย่างที่ 3 "เมื่อก่อนลายสือไทนี้ บ่มี ๑๒๐๕ ศก ปีมะแม พ่อขุนรามคำแหงหาใครใจในใจ แลใส่ลา ลายสือไทนี้ จึงมีเพื่อพ่อขุนผู้นั้นใส่ไว้" ที่มา : ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ด้านที่ ๔ 1. จากกรณีตัวอย่างเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยใด 2. เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นศักราชใด, 3. เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นเมื่อใด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/4