ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไท... อ่านต่อ

ใบงานที..... อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภัสพรรณ เลาสุทแสน - สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเราได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23,38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีมลดส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งแหกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุด ราคาน้าเช้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข่าวสารที่ทันสมัย คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
การบัญชี มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค่า🥹🥹

ตอนที่ 2 ทดสอบความเข้าใจ 1. คำถามข้อ 1 จากข้อมูลของบริษัท โชคดี จำกัด ในปี 25X1 มีราบละเอียดดังนี้ วัตถุดิบทางตรง D วัตถุดิบทางอ้อม 08 ค่าแรงงานทางตรง ค่าแรงงานทางอ้อม 08 ค่าสาธารณูปโภค 0 1 ค่าเบี้ยประกันโรงงาน 0 ค่าเบี้ยประกันสำนักงาน ค่านายหน้าพนักงานขาย เงินเดือนผู้บริหาร ค่าโฆษณา ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร OH ค่าเสื่อมราคารถยนต์ ค่าเช่าสำนักงาน ให้ทำ 1.1) คำนวณต้นทุนขั้นต้น (1 คะแนน) OH S 1.2) คำนวณต้นทุนแปรสภาพ ( 1 คะแนน) 1.3) คำนวณค่าใช้จ่ายในการผลิต ( 1 คะแนน) 1.4) คำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ 1 คะแนน) 1.5) คำนวณต้นทุนจม ( 1 คะแนน) 2. คำถามข้อ 2 ข้อมูลต่อไปนี้ได้มาจากการผลิตในเดือนมกราคม 25X2 ของบริษัท มีดี จำกัด 1. ซื้อวัตถุดิบทางตรงเป็นเงินเชื่อ 50,000 บาท - 2 จ่ายค่าแรงพนักงานฝ่ายผลิต (ค่าแรงงานทางตรง) รวม 75,000 บาท เป็นเงินสด 2. 410,000 บาท 156,000 บาท 520,500 บาท 45,000 บาท 300,000 บาท 100,000 บาท 60,000 บาท 60,000 บาท 350,000 บาท 100,000 บาท 80,000 บาท 50,000 บาท 80,000 บาท 3. จ่ายเงินเดือนผู้ควบคุมโรงงาน 15,000 บาท เป็นเงินสด 4. ได้รับบิลค่าไฟฟ้า จํานวน 5,000 บาท 5. ค่าเสื่อราคาของอุปกรณ์ในโรงงานเท่ากับ 6,000 บาท

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องการอยากทราบคำตอบของโจทย์เรื่องพริกไทย

อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภีสุพรรณ เลาสุทแสน - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ อาน เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคาน้ำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23.38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีผลผลิตส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งผลกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุดคือราคานำเข้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ไปทาน คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ จำนวน 20 รายโสผู้บริโภค ระโย 2006 207 คนในคร โลก 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? - คาคาชน ที่เกี่ยว 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ?ราคาที่ผลิต (1) ต้นตระก 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ) เทคโนโว เกมติม 28294 บริ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ข้อ8ครับ

ตอนที่ 1 ตอบคำถามต่อไปนี้พอเข้าใจ 1. จงให้ความหมายของสถานที่ตั้งโรงงาน 2. จงอธิบายถึงความสำคัญของสถานที่ตั้งโรงงานที่มีต่อธุรกิจ 3. ในการเลือกสถานที่ตั้งโรงงานผู้บริหารสมควรพิจารณาปัจจัยอะไรบ้าง 4. ปัจจัยด้านชุมชนท้องถิ่นมีผลอย่างไรต่อการเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน 5. การตัดสินใจเลือกสถานที่ตั้งโรงงานในต่างประเทศ สิ่งที่จะต้องพิจารณามีอะไรบ้าง 6. ประเทศไทยควรพัฒนาด้านใดบ้าง ถึงจะจูงใจให้นักลงทุนเลือกเป็นสถานที่ตั้งโรงงาน 7. เหตุใดจึงต้องวิเคราะห์จุดคุ้มทุนในการเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน ตอนที่ 2 จงแสดงวิธีทำ 8. ผู้บริหารโรงงานแห่งหนึ่งต้องการเลือกสถานที่ตั้งโรงงานแห่งใหม่โดยมีสถานที่ในการ ตัดสินใจอยู่ 4 แห่ง คือ A, B, C และ D ซึ่งในแต่ละแห่งจะมีต้นทุนคงที่ เช่น ค่าที่ดิน ค่าสร้างอาคาร ค่า เครื่องจักร และต้นทุนผันแปร เช่น ค่าแรงงาน ค่าวัสดุ ค่าการขนส่ง เป็นต้นดังแสดงในตารางต่อไปนี้ จงหา ทำเลที่ตั้ง ต้นทุนคงที่ต่อปี (บาท) ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย (บาท) A B C D 150,000 300,000 500,000 600,000 62 38 24 30 ถ้าท่านได้รับมอบหมายจากผู้บริหารให้ศึกษาความเหมาะสมในการเลือกสถานที่ตั้งแห่งใหม่ 1. กำหนดเส้นกราฟต้นทุนรวมของแต่ละสถานที่ตั้ง 2. คำนวณหาปริมาณการผลิตที่คุ้มทุนของแต่ละสถานที่ตั้ง 3. ถ้าปริมาณความต้องการเป็น 15,000 หน่วยต่อปี เราสมควรตัดสินใจเลือกสถานที่ตั้งใดมาก ที่สุด 9. บริษัทอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งต้องการเลือกสถานที่ตั้งเพื่อทำการขยายกำลังการผลิต และ ได้ทำการสำรวจตำแหน่งวัตถุดิบและตลาดสินค้า พบว่า มีตำแหน่งวัตถุดิบที่สำคัญ 2 แห่ง และตลาด สินค้า 2 แห่ง อัตราการขนส่งวัตถุดิบ กิโลเมตรละ 6 บาทคงที่ และอัตราการขนส่งสินค้าไปยังตลาด กิโลเมตรละ 5 บาทคงที่ ไม่ว่าระยะทางจะเป็นเท่าใด รายละเอียดของแหล่งวัตถุดิบและตลาดจำหน่าย อยู่ในตำแหน่งตามภาพ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยทำแบบฝึกเศรษฐศาสตร์ หน่อยค่าบบบ

4. การค้าระหว่างประเทศนั้นส่งผลดีอย่างไร * (1 คะแนน) ผู้ประกอบการมีการปรับปรุงเทคโนโลยีอยู่เสมอ O ทำให้เกิดการสร้างความถนัดในการผลิต สามารถใช้เป็นเครืองมือต่อรองกับต่างประเทศได้ ถูกทุกข้อ 5. ข้อใดผิดเกี่ยวกับมาตราการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ ภาษี * (1 คะแนน) เป็นมาตราการที่สร้างความยุ่งยากให้ประเทศของ ตนเองส่งออกได้ยากขึ้น เริ่มหันมาใช้ข้อกำหนดทางด้านการเอาเปรียบ แรงงาน และข้อกำหนดทางด้านสิ่งแวดล้อม เป็นมาตรการที่ทำให้สินค้าของประเทศอื่นเข้ามา ขายในประเทศของตนเองได้ยากขึ้น มักจะไม่ใช้การเก็บภาษีนำเข้าโดยตรง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
การบัญชี มหาวิทยาลัย

ช่วยแก้โจทย์ให้ทีค่ะ

31 ธันวาคม 25x4 3. บริษัท ในรอยรัก จำกัด ผลิตแหวนชุบทองคำขาว ขายในราคาวงละ 3,000 บาท บริษัท ทำการผลิตเท่ากับกำลังกำลังการผลิตปกติประมาณปีละ 1,000 วง ข้อมูลดันทุนสำหรับปี 25x4 มีดังนี้ ต้นทุนผันแปรด่อหน่วย (บาท) วัตถุดิบทางตรง 500 ค่าแรงงานทางตรง 400 ค่าใช้จ่ายการผลิต 300 ค่าใช้จ่ายการขาย 39. 100 - ต้นทุนคงที่รวม (บาท) ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ ค่าใช้จ่ายการบริหารคงที่ 9ร 600,000 400,000 ให้ทำ 1. คำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยดามระบบด้นทุนรวม และตามระบบด้นทุน ผันแปร 2. สมมติในปี 25x4 ผลิตได้ 1,000 วง และขายได้ 900 วง ให้จัดทำงบกำไรขาดทุน สำหรับปี 25x4 ตามระบบต้นทุนรวม และตามระบบต้นทุนผันแปร *้ การปรับกำไรหรือขาดทุนสุทธิจากระบบต้นทุนรวมเป็นระบบด้นทุนผันแปร และ จากระบบต้นทุนผันแปรเป็นระบบดันทุนรวม บทที่ 3

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
การบัญชี มหาวิทยาลัย

ใครรู้ วิชา บัญชีบริหาร ช่วยเค้าหน่อยน๊า

8. ในระหว่างเดือนมิถุนายน 25x1 บริษัท บางกอกอุตสาหกรรม จำกัด บริษัทได้รับงานสั่งทำ 1 งาน ได้แก่ งานสั่งทำเลขที่ A601 โดยมีข้อมูลเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ ซื้อวัตถุดิบ 20,000 บาท วัตถุดิบทางตรงใช้ไป : งานสั่งทำเลขที่ A601 19,000 บาท ค่าแรงงานทางตรง : งานสั่งทำเลขที่ A601 (100 ชั่วโมง) 15,000 บาท อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตประมาณการ คำนวณจากค่าแรงงานทางตรง โดยประมาณการ ค่าใช้จ่ายการผลิตจริง 162,000 บาท และประมาณการค่าแรงงานงานทางตรง 180,000 บาท ข้อมูลเพิ่มเติม 1. งานสั่งทำเลขที่ A601 เป็นอะไหล่อุปกรณ์ จำนวน 100 หน่วย ลูกค้าชื่อร้านรุ่งกิจการค้า เริ่มผลิต วันที่ 9 มิถุนายน 25x1 ผลิตเสร็จและส่งมอบงานในวันที่ 28 มิถุนายน 25x1 2. ค่าใช้จ่ายการผลิตี่เกิดขึ้นจริง 15,000 3. ราคาขายของงานเลที่ A601 เท่ากับ 100,000 บาท ให้ทำ 1. ใบสั่งผลิต 2. คำนวณผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิต ระบุว่าเป็นค่าใช้จ่ายการผลิตสูงไป หรือ ต่ำไป 3. จัดทำงบกำไรขาดทุน (หลังปรับปรุงค่าใช้จ่ายการผลิต)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/2