ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอทำได้บ้างมั้ยคะ ช่วยหน่อยย🥹 อยากได้ก่อนบ่ายโมง🥹

2,000 kg ข้อสอบปลายภาคการศึกษา 1/2566 2. จงหาแรงที่จุดรองรับที่ถูกแรงกระทำกับโครงสร้างดังแสดงในภาพ (40 คะแนน) D 600 55° 7,000 kg 1.4 m 0.4 m สมชายสามารถนำชิ้นส่วนออกได้จริงหรือไม่ B 5 kN C 4 m 4453 เมื่อกล่องมีมวล 100 kg และ a = 1.25 m 3. จงหาแรงที่กระทำที่จุด D และ E และในชิ้นส่วน AB, DB, BC, DE และ BE ของโครงสร้างดังแสดง ในรูปที่ 3 จากนั้นนายสมชายได้แนะนำว่าสามารถเอาชิ้นส่วน BE ออกได้จากคำแนะนำของนาย (40 คะแนน) กลศาสตร์วิศวกรรม 2 m E 10 kN -2m- -4 m AC = CE = 4 m AB = 5 m รูปที่ 3 4.1 รถขนของดังแสดงในรูปที่ 4.1 เมื่อลังมีมวล 20 kg กระทำที่จุดกึ่งกลางของลังจงหาแรง ปฏิกิริยาที่กระทำที่จุดรองรับ A, B และ C 4.2 ระบบส่งกำลังโดยคานหมุนดังแสดงในรูปที่ 4.2 จงหาแรงดึง T และแรงปฏิกิริยาที่กระทำที่ จุดรองรับ C และ D 4.3 แท่งเหล็กมวล 50 kg ยึดโดยสายเคเบิลดังแสดงในรูปที่ 4.3 จงหาแรงดึงในสายเคเบิลทั้ง 3 เส้น (ข้อ 3 เลือกทำ 1 ข้อ) (40 คะแนน)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
แผนการเรียน มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยได้มั้ยค่าา

คำใบ้สำหรับปริศนาของไอสไตล์ มีบ้านอยู่ 5 หลัง เจ้าของบ้านแต่ละหลังมีภูมิลำเนาอยู่คนละจังหวัดกัน ใช้ภาชนะต่างกัน ดื่มน้ำ ต่างชนิดกัน หลังคาบ้านแต่ละหลังใช้วัสดุในการมุงหลังคาต่างกัน เจ้าของบ้านแต่ละหลังสวม เสื้อผ้าต่างกัน เจ้าของบ้านทุกหลังไปทำบุญที่วัด นำภัตตาหารใส่ภาชนะต่างกันไปถวายเพล เมื่อ เสร็จงานบุญปรากฏว่าชามเบญจรงค์หายไป จากคำใบ้ทั้ง 15 ข้ออยากทราบว่าชามเบญจรงค์ หายไปอยู่ที่บ้านหลังใด 1. คนลำปางอยู่ในบ้านหลังคามุงกระเบื้อง 2. คนน่านใช้ภาชนะพลาสติก 3. คนพัทลุงดื่มน้ำใบบัวบก 4. บ้านที่มุงด้วยหญ้าแฝกอยู่ทางซ้ายของบ้านที่มุงใบตอง 5. เจ้าของบ้านที่มุ่งหญ้าแฝกดื่มน้ำมะขาม 6. คนที่ห่มสไบใช้ภาชนะแก้ว 7. เจ้าของบ้านมุงสังกะสีสวมเสื้อคอกระเช้า 8. คนที่อยู่บ้านตรงกลางดื่มน้ำเสาวรส 9. คนสุพรรณบุรีอยู่บ้านหลังแรก 10. คนนุ่งผ้าขาวม้าอยู่ติดกับบ้านที่ใช้กล่องกระดาษ 11. บ้านที่ใช้ดินเผาอยู่ติดกับบ้านที่สวมเสื้อคอกระเช้า 12. คนที่นุ่งผ้าถุงดื่มน้ำอัญชัน 13. คนเชียงใหม่สวมเสื้อม่อฮ่อม 14. คนสุพรรณอยู่ติดกับบ้านที่มุงใบจาก 15. คนที่นุ่งผ้าขาวม้ามีคนข้างบ้านดื่มน้ำเก๊กฮวย

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 2
ภาษาไทย มหาวิทยาลัย

ช่วยสรุปจากเรื่องนี้ให้หน่อยนะคะ สรุปการอ่านเพื่อประเมินค่า จากเรื่องนี้ค่ะ

คำชี้แจง : อ่านเพื่อประเมินค่า ข้อ ๒. เรื่อง มิตรภาพ คนเราล้วนมีคำนิยามในสิ่งที่เหมือนกันต่างกันไป เหมือนกับการมองเหรียญหนึ่งเหรียญแต่มองได้หลายมุม บางคนอาจจะว่ามันมี ความโค้ง บางคนอาจมองว่ามันดูเงาวาววับ บางคนอาจจะว่ามันแข็ง ฉะนั้นแล้วเราไม่ควรมองสิ่งต่างๆ เพียงด้านเดียวและไม่ควรตัดสินใจอะไร ต่างๆด้วยการมองเขาเพียงแค่ด้านเดียวเท่านั้น ก็เหมือนกับการสร้างมิตรภาพที่นับวันยิ่งหาได้ยาก หากเรามัวแต่มองเขาเพียงด้านเดียว ตัดสินเขาเพราะเขาเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ก็จะมีแต่เราเองที่เป็นทุกข์ พุทธศาสนาสอนมนุษย์ทุกคนว่า ทุกสิ่งบนโลกใบนี้ล้วนแล้วแต่เป็น “อนัตตา” คือความไม่มีตัวตนอย่าคิดอย่าปองว่าทุกสิ่งเป็นของ ตน แม้แต่ร่างกายที่เราว่าเป็นของเราแต่เรายังไม่สามารถบังคับให้ไม่เจ็บไม่ป่วยได้ แล้วนับอะไรกับมนุษย์และสรรพสัตว์รอบกายของเราเล่า เขา มีจิตใจมีความคิดมีความรู้สึกต่างๆ ตามแบบฉบับของมนุษย์ทุกคน เราไม่สามารถไปกำหนดให้เขามาดพเนินตามเส้นทางที่เราขีดไว้ให้ได้อย่าง แน่นอน “สัพเพ ธัมมา อนัตตา สรรพสิ่งเป็นอนัตตาบังคับบัญชาไม่ได้ เพียงแต่อ่านข้อความนี้ก็ไม่ต้องมีคำนิยามใดๆ ลงมาพ่วงท้ายก็เชื่อว่า หลายคนสามารถตีความข้อความนี้ได้ถูกต้องอย่างแน่นอน ฉะนั้นเรามาสร้างสิ่งต่างๆ รอบกายเพื่อให้เป็นมิตรที่คนเขาเรียกว่ามิตรภาพที่ดีแก่ตัว มิตรภาพไม่ได้จำกัดอยู่ที่เพื่อนที่เดินไปโรงเรียนหรือที่ทำงานแล้วเจอกันเท่านั้น เพื่อนหรือมิตรภาพนี้ยังหมายถึงสัตว์เลี้ยงของเรา เรากัน ที่คอยเป็นเพื่อนเล่นกับเราเวลาที่เราเหงา หรือแม้แต่เสาไฟที่คอยส่องแสงสว่างในช่วงเวลากลางคืนที่คอยเป็นเพื่อนที่ดีให้กับคนขับรถอีกด้วย ไม่มีที่ไหนที่เราจะไม่พบคำว่ามิตรภาพ หากมองดูแล้วมันมีความหมายมากกว่าคำนิยามตามพจนานุกรมแน่นอน หลายคนก็หลายความคิด แตกต่าง มิตรเป็นสิ่งที่ยั่งยืนในความหมายของมัน แต่ในทางกลับกันมิตรภาพกับเป็นสิ่งที่ไม่จีรังเอาเสียเลย เราลองมองรอบกายตัวเองดูแล้ว รอบกายของเรากลับไม่เคยเหมือนเดิมเลยสักวัน เหมือนกันการเดินทางที่ไม่มีที่สิ้นสุด ที่แต่ละวันเราต้องเปลี่ยนคนรู้จักร มิตรภาพ การเดินทาง ไปเรื่อย ๆ แต่ภาพของมิตรภาพความทรงจำเก่าๆก็ยังติดอยู่ที่ตรงนี้ที่เรียกว่า จิตใจ ช่วงเวลาที่หลายคนเรียกมันว่า “จุดเปลี่ยน” วัยไหนๆหรือวันไหนๆก็มีจุดเปลี่ยนกันทั้งนั้นไม่มีใครสามารถล่วงรู้อนาคต ที่จะเกินกับเราได้ เราทำได้ดีที่สุดเพียงเดินตามอย่างระมัดระวังเท่านั้น จุดเปลี่ยนนั้น ต่างศาสตร์ต่างความคิดกันไป ตามกฎหมาย แล้วเมื่อถึงอายุที่กำหนดก็จะเปลี่ยนสถานภาพ จากเด็กหญิงตัวเล็กๆ เป็นนางสาวเพียงข้ามวัน แล้วเปลี่ยนเด็กชายเป็นนายโดยไม่รู้ตัว แต่ถ้าตามระบบการศึกษาก็คือเปลี่ยนทุกปีที่จบการศึกษาคือปีก่อนยังเป็นนักเรียนชั้นม.5 แล้วปีนี้ไหนกลายเป็นชั้นม.6 แล้ว รวดเร็ว เหลือเกิน สิ่งที่ผ่านมาสอนอะไรเราบ้าง ทั้งความสุข ความทุกข์ อารมณ์เหงา ดีใจ ซาบซึ้ง สิ่งเหล่านี้ล้วนสอนเราผ่านคำว่ามิตรภาพ ท้งนัน หลายคนอาจเจอมิตรภาพที่ดีมาโดยตลอด กับอีกบางคนที่เจอแต่มิตรภาพที่หลอกลวงอยู่ตลอดเช่นเดียวกัน คนเคย กล่าวว่าเพื่อนเป็นกระจกส่องถึงตัวเรา ก็เหมือนเราอยู่ใกล้ใครคนคนนั้นก็จะเริ่มเปลี่ยน เราก็เริ่มเปลี่ยน จนคล้ายจะเป็นคนที่มีนิสัย ใจคอเดียวกันไปซะแล้ว หากเราเจอแต่เพื่อนที่ดี มิตรภาพที่ยั่งยืน ตัวเราเองก็มีความสุขไปด้วย แต่บางคนเจอเพื่อนที่ดีกลับผลักไส เขาออกห่างจากชีวิตด้วยทิฐิ ต่างๆที่มันเกิดขึ้นกับจิตใจเราด้วยคิดว่าเขาต่างเรา เข้ากันไม่ได้หรอก แล้วเหตุผลสารพัดมารวมกันโดย มิได้นัดหมาย จนสิ่งๆนั้นได้หลุดลอยออกไปจากชีวิต แล้วมันก็เกิดจุดเปลี่ยนตามสถานะภาพของมัน เพื่อนสัมพันธภาพตัดกันไม่ขาด คำนี้ไม่มีใครเถียง แต่บางทีเพื่อนที่ต้องการเวลาในการรักษาจิตใจที่บอบช้ำเหมือนกัน มิตรภาพไม่ได้มีแค่สิ่งสองสิ่งรอบตัวเราแต่มันเป็นทุกสิ่งทุกอย่างรอบตัวเรา เราลองมองแล้วคิดทบทวนให้เวลากับคำว่า มิตรภาพรอบตัวของเราให้มากกว่านี้ ให้ความเข้าใจ เห็นความเป็นไปเท่านั้น แล้วเชื่อว่าอนาคตหรือทุกวันก็เป็นวันที่เราจะก้าวย่าง ไปข้างหน้าพร้อมความมั่นใจ ด้วยกำลังใจจาก “มิตรภาพ” (ปรนันท์ สีบพิมพา, JANUARY ๑๖, ๒๐๑๒)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอทำได้มั้ยครับ

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 1-1 กำหนดให้โคมไฟมีน้ำหนัก 220 N ถูกแขวนโดยเส้นลวด 3 เส้น ซึ่งเชื่อมต่อกันโดยใช้แหวนที่จุด A ดังที่แสดงในรูป ที่ Prob. 1-1 จงหาค่ามุม 6 ที่ทำให้หน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ย (average normal stress) ในเส้นลวด AC เป็นสองเท่าของ หน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยในเส้นลวด AD และจงหาค่าหน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในเส้นลวดทั้งสอง 6.3 mm 1.20 m 0.90 m P V A รูปที่ Prob. 1-1 1-2 กำหนดให้โครงข้อหมุน (truss) มีลักษณะดังที่แสดงในรูปที่ Prob. 1-2 จงหาหน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วน ต่างๆ ของโครงข้อหมุนพร้อมทั้งระบุด้วยว่าเป็นหน่วยแรงดึงหรือหน่วยแรงกดอัด เมื่อโครงข้อหมุนมีพื้นที่หน้าตัดดังต่อไปนี้ AAR = 960 mm², ABC = 516 mm², ua AAC AB = 385 mm² 1.20 m 0.90 m รูปที่ Prob. 1-2 E 45° B 8.9 mm 7.6 mm 1-3 ชิ้นส่วนต่างๆ ของโครงข้อหมุน ดังที่แสดงในรูปที่ Prob. 1-3 มีพื้นที่หน้าตัดเท่ากับ 806 mm ถ้ากำหนดให้หน่วยแรง ตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนใดๆ ของโครงข้อหมุนมีค่าได้ไม่เกิน 140 MPa จงหาค่าแรง P สูงสุด P รูปที่ Prob. 1-3 F 1.20 m 2.5 kN 7 B ›COS 45° D

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค่ะ🥺

ะ 2. จงอธิบายการเคลื่อนที่ใน 1 มิติ ทั้งแบบแนวราบและแนวดิ่ง พร้อมทั้งวิเคราะห์ถึงความคล้ายคลึงกัน และ สิ่งที่แตกต่างกัน (10 คะแนน) 3. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นราบในแนวเส้นตรงด้วยความเร่งคงที่ โดยที่เวลา 1 วินาที วัตถุมี ความเร็ว 2 เมตรต่อวินาที และที่เวลา 6 วินาที วัดความเร็วของวัตถุได้ 6 เมตรต่อวินาที จงหา (10 คะแนน) ก. ความเร่งของวัตถุนี้ ข. แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ 4. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม วางอยู่บนพื้นลื่น ถูกดึงด้วยแรง 20 นิวตัน ในทิศทำมุม 60 องศากับแนวระดับ ทำให้ เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 1 เมตรต่อวินาที (10 คะแนน) ะ ก. จงวาดรูปเหตุการณ์นี้ พร้อมทั้งแสดงข้อมูล (label) ที่เกี่ยวข้อง ข. จงหากำลังที่ใช้ดึงนั้น ะ 5. น้ำนมบรรจุกล่องมีปริมาตร 250 cm มีมวล 0.275 kg ซึ่งนมนี้มีไขมันอยู่ 4% โดยปริมาตร ถ้าไขมันมี ความหนาแน่น 865 kg/m จงหาความหนาแน่นของน้ำนมที่ไม่มีไขมัน (10 คะแนน) 6. ลวดโลหะยาว 1 เมตร มีพื้นที่หน้าตัด 0.5 ตารางเซนติเมตร เมื่อถ่วงด้วยน้ำหนัก 1,000 นิวตัน จะยืด ออกไป 1 เซนติเมตร โลหะนี้มีค่ามอดูลัสของยังเท่าไร (10 คะแนน)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค่ะ

ผลการวิเคราะห์สารตัวอย่างหมายเลข 3F สารละลายใส ไม่มีสี เมื่อทดสอบด้วยกระดาษลิตมัสสีน้ำเงินเปลี่ยนเป็นสีแดง เมื่อหยด 6 M HCI สารละลายขุ่น เป็นสีขาวทั้งหลอด นำไปหมุนเหวี่ยง เทสารละลายส่วนใสทิ้งไป เติมน้ำกลั่นลงในตะกอน ต้มประมาณ 2 นาที แล้วคนเบาๆ พบว่าตะกอนละลายได้แต่ไม่ทั้งหมด หมุนเหวี่ยงอีกครั้งเพื่อนำสารละลายส่วนใสที่ยังร้อนอยู่มาเติม 6 M HOAC และ K,CrO, ได้สารละลายขุ่นสีเหลือง ส่วนตะกอนที่ไม่ละลายน้ำร้อนนำมาเติม 6 M NH,OH 25 หยด ตะกอนหายไปหมดได้สารละลายใส ไม่มีสี นำสารละลายมาเติม 6 M HNO, ประมาณ 40 หยด ทดสอบ ด้วยกระดาษลิตมัสสีน้ำเงินเปลี่ยนเป็นสีแดงสารละลายที่เคยใสกลับขุ่นและมีสีขาว

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/5