ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค่ะ สักข้อก็ยังดีplssss

แบบฝึกหัด ปริมาณสารสัมพันธ์ 1) จงหาจำนวนโมลของเกลือ NaCl จำนวน 120 กรัม (กำหนดให้ มวลอะตอมของ Na = 23, CI = 35.5) 2) จงหามวลของแก๊ส CO2 ปริมาตร 1.00 L ที่ STP (กำหนดให้ มวลอะตอมของ C = 12, O = 16) 3) จงหาสูตรเอมพิริคัลของสารประกอบที่ประกอบด้วยออกซิเจน 60% และกำมะถัน 40% 4) จงหาสูตรเอมพิริคัลของสารประกอบที่ประกอบด้วย น้ำหนัก 5) จงหาสูตรเอมพิริคัลของสารประกอบที่ประกอบด้วย Fe 69.94% และ 0 30.06% 6) สารประกอบออกไซด์ของไนโตรเจน ประกอบด้วยไนโตรเจน 30.4 % โดยน้ำหนัก จงหาสูตรเอมพิริคัล 7) จงหาสูตรเอมพิริคัลของสารประกอบที่ประกอบด้วย Cr = 26.52% S = 24.52% และ 0 48.96% โดย น้ำหนัก 8) ตัวอย่างบริสุทธิ์ของสารประกอบชนิดหนึ่ง ประกอบด้วย โซเดียม 2.04 g คาร์บอน 2.71 x 10 อะตอม และออกซิเจน 0.132 โมล จงหาสูตรเอมพิริคัลของสารประกอบ 9) จงหาสูตรเอมพิริคัลของสารประกอบที่ประกอบด้วย C = 63.1% H = 11.92% และ F = 24.97% โดย นํ้าหนัก 10) จงหาสูตรเอมพิริคัลของสารที่ประกอบด้วย 11) จงหาสูตรเอมพิริคัลของสารที่ประกอบด้วย K 26.57% Cr = 35.36% และ 0 38.07% โดย H = 1.8% 5 = 56.1% และ O = 42.1% โดยน้ำหนัก S C = 52.9% ที่เหลือคืออกซิเจน

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

รบกวนช่วยหน่อยค่ะ แนะเป็นแนวทางก็ได้🥺

1. อุบัติเหตุเกิดขึ้นบนเนินที่มีควาวมชัน 8 = 12° เมื่อรถคัน A ไถลลงมาชนรถ B ซึ่งจอดนิ่งอยู่ห่างออกไปเป็น = ระยะ d = 24 m โดยที่รถ A มีความเร็วต้น 18 m/s ถ้าพื้นถนนมีค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตเป็น 0.8 และ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์เป็น 0.6 จงหาความเร็วขณะที่รถ A ไปชนรถ B 2. กล่องมวล 3 kg ไถลลงมาตามพื้นเอียงที่มีความยาว 1 m และทำมุม 300 กับพื้นราบ โดยกล่องเริ่มเคลื่อนที่ จากหยุดนิ่ง และ ให้ค่าความเสียดทานคงที่ระหว่างกล่องกับทุกพื้นสัมผัสเป็น 5 N จงหา a) อัตราเร็วของกล่องที่ปลายพื้นเอียง b) ระยะทางที่กล่องเคลื่อนที่ต่อไปบนพื้นราบ h = 5m mu B h d = 1m Vo = 0 m/s 3. ทรงกลมตันมวล M ไถลมาบนพื้นที่ไม่มีความผิด โดยมีอัตราเร็วคงที่ 44 ก่อนตกมาจากโต๊ะที่สูง 5 จากพื้น ถูก กระสุนมวล m ที่มีอัตราเร็ว 42 ยิงเข้าใส่และฝังอยู่ในมวล M จงหาระยะที่ทรงกลมตันเคลื่อนที่ลงมาถึงพื้น (d) Mul 0 = 30° d Mtm

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

คำนวนพิกัดของหม้อแปลง cascade ยังไงหรอครับ อย่าง 400 kva 400 kv 3 ตัว

ขั้นบันไดก็คือ ขดลวดสร้างเส้นฟลักซ์แม่เหล็กของหม้อแปลงตัวแรก จะต้องจ่ายกระแสให้กับหม้อ แปลงตัวต่อไปด้วย ฉะนั้นถ้ามีการต่อขั้นบันไดหลายๆ ขั้น หม้อแปลงตัวแรกก็จำเป็นต้องมีกำลังใหญ่ กว่าตัวที่มาต่อเพิ่มขึ้นต่อไป ถ้าใช้หม้อแปลงที่มีกำลังเท่ากันมาต่อขั้นบันได กำลังไฟฟ้าจ่ายออกที่ แรงดันสูง าหนดจะน้อยกว่าผลรวมกำลังของแต่ละตัว นั่นคือหม้อแปลงสามารถจ่ายกระแสได้น้อย กว่าที่กำหนด เช่น หม้อแปลงทดสอบ 400 kV 400kVA 1A 3 ตัวมาต่อขั้นบันได จะได้แรงดันรวมที่ กำหนด 1200 KV แต่จะเหลือกำลังเพียง 900 KVA และกระแส 0.75 A เป็นต้น 1 : ขดลวดแรงต่ำ หรือขดลวดสร้างฟลักซ์ aiman (low voltage or exciting) 2 : ขดลวดแรงสูง (high voltage winding) 3 : ขดลวดคาบเกี่ยว (coupling winding) รูปที่ 2-10 ขดลวดหม้อแปลงสำหรับต่อขั้นบันได การฉนวนหม้อแปลงเมื่อต่อแบบขั้นบันได 3 ขั้น ตามรูปที่ 2-11 จะเห็นได้ว่าหม้อแปลงตัวที่ 2 ซึ่งได้รับแรงดันสร้างเส้นฟลักซ์แม่เหล็กผ่านทางขดลวดต่อคาบเกี่ยวนั้น มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับแรงสูงของ ตัวแรก ฉะนั้นหม้อแปลงตัวที่ 2 นี้ จะต้องได้รับการฉนวน หรือตั้งอยู่บนฉนวนรองรับเท่ากับแรงดัน สูงของตัวแรก ดังในรูป 2-11 200 KVA 0000 400 KVA 3P +1. leee Hil leee 2P 300KVA U 2P ele leee reeeee P III มวน =U 2U 2 leee ถัง S.V 41 นวม - 2U รูปที่ 2-11 ไดอะแกรมการต่อหม้อแปลงทดสอบแบบขั้นบันได 3U กล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอทำได้มั้ยครับ

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 1-1 กำหนดให้โคมไฟมีน้ำหนัก 220 N ถูกแขวนโดยเส้นลวด 3 เส้น ซึ่งเชื่อมต่อกันโดยใช้แหวนที่จุด A ดังที่แสดงในรูป ที่ Prob. 1-1 จงหาค่ามุม 6 ที่ทำให้หน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ย (average normal stress) ในเส้นลวด AC เป็นสองเท่าของ หน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยในเส้นลวด AD และจงหาค่าหน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในเส้นลวดทั้งสอง 6.3 mm 1.20 m 0.90 m P V A รูปที่ Prob. 1-1 1-2 กำหนดให้โครงข้อหมุน (truss) มีลักษณะดังที่แสดงในรูปที่ Prob. 1-2 จงหาหน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วน ต่างๆ ของโครงข้อหมุนพร้อมทั้งระบุด้วยว่าเป็นหน่วยแรงดึงหรือหน่วยแรงกดอัด เมื่อโครงข้อหมุนมีพื้นที่หน้าตัดดังต่อไปนี้ AAR = 960 mm², ABC = 516 mm², ua AAC AB = 385 mm² 1.20 m 0.90 m รูปที่ Prob. 1-2 E 45° B 8.9 mm 7.6 mm 1-3 ชิ้นส่วนต่างๆ ของโครงข้อหมุน ดังที่แสดงในรูปที่ Prob. 1-3 มีพื้นที่หน้าตัดเท่ากับ 806 mm ถ้ากำหนดให้หน่วยแรง ตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนใดๆ ของโครงข้อหมุนมีค่าได้ไม่เกิน 140 MPa จงหาค่าแรง P สูงสุด P รูปที่ Prob. 1-3 F 1.20 m 2.5 kN 7 B ›COS 45° D

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มหาวิทยาลัย

มีใครพอจะอธิบายได้ไหมคะ

1. จากสารประกอบต่อไปนี้ CFC3 CsBr PCl3 NaO2 BrF3 CaF2 C₂H5OH NaOH SCl2 MgCl2 BeCl2 ให้ระบุว่าเป็นสารประกอบไอออนิก หรือ สารประกอบโคเวเลนต์ 2. โดยอาศัยข้อมูลพลังงานพันธะ จงหาว่าปฏิกิริยาต่อไปนี้สุดหรือคายความร้อนกี่กิโลจูลต่อโมลของสารตั้งต้น (กรณีที่สารที่เกี่ยวข้องอาจมีโครงสร้างเรโซแนนซ์ ให้เลือกใช้โครงสร้างอันใดอันหนึ่งเป็นตัวแทน) dd C. C₂H4 + Br2 C₂H4BR2 4. ตอบคำถามจากโมเลกุลหรือไอออนที่ให้ ต่อไปนี้ COC, ICL, O, PH 4.1 วาดโครงสร้างลิวอิส d. 4.2 ทํานายรูปร่างโดยใช้หลัก VSEPR 4.3 บอกชนิดไฮบริไดเซชันที่อะตอมกลาง 4.4 โมเลกุลใดบ้างที่มิไดโพลโมเมนต์ 5. เปรียบเทียบโมเลกุลต่อไปนี้ โมเลกุลใดมีขั้วมากกว่ากัน (มีค่าไดโพลโมเมนต์มากกว่า a. CO₂ vs. S0₂ b. 30 CI H A A CI VS. 7. จงเรียงลำดับขนาดมุมพันธะ 0, 0, 0, และ 0, ของสารต่อไปนี้ จากมากไปน้อย H H 0₂ H O INM₂ -N-H |--04 H 11. สารใดมีแรงยึดเหนี่ยวชนิดแรงลอนดอนเท่านั้น H2S SF, PC3 AsF5 NO2 HNO3

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 2