ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยด้วยครับ งงมากกเลยเรียนไม่กี่ครั้งสอบแล้ว

กังหัน-เครื่องกำเนิดไฟฟ้า เพราะเหตุใด 2-25 มีการปั้มน้ำจากทะเลสาบไปเก็บในถังเก็บที่ความสูง 20 m ด้วยอัตราการไหล 70 L/s โดยมีการใช้กำลัง ไฟฟ้า 20.4 kW ดังแสดงในรูป ถ้าไม่คิดผลของความเสียดทานและการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์ จงคำนวณหา (ก) ประสิทธิภาพรวม (Overall efficiency) ของชุดปั๊ม-มอเตอร์ (ข) ความดันแตกต่าง ระหว่างทางเข้าและทางออกของปั๊ม (ตอบ (ก) 67.2 % (ข) 196 kPa) 20 m Pump รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 2-25 2-26 น้ำไหลจากระดับความสูง 120 m ด้วยอัตรา 100 m/s เข้าสู่กังหันเพื่อใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ดัง แสดงในรูป ถ้าประสิทธิภาพรวมของชุดกังหัน เครื่องกำเนิดไฟฟ้าเป็น 80% จงคำนวณหากำลังไฟฟ้าของ โรงไฟฟ้าแห่งนี้ กำหนดให้ไม่ต้องพิจารณาผลเนื่องจากแรงเสียดทานในท่อ (ตอบ 94.2 MW) 100 m³/s Generator Turbine turbine-gen = 80% Storage tank 120 m รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 2-26 เปลี่ ใช้เงิ pro 82 .

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 3
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยครับ🥲 ข้อ24-25-26-27 วิชาเทอโมไดนามิก

LOil นมาโนบิ SG=03 Mercury SG=136 ดออก เปลี่ยน a ua มวล แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับเทอร์โมไดนามิกส์ 27 1-24 ในขณะทำการบิน นักบินคนหนึ่งอ่านข้อมูลได้ว่าเครื่องบินอยู่เหนือระดับน้ำทะเล 3 km และความดันสัมบูรณ์ เป็น 58 kPa จากข้อมูลที่กำหนดจงคำนวณหาความดันบรรยากาศที่ภาคพื้นดินในหน่วย kPa และ mm Hg เมื่อกำหนดให้ความหนาแน่นของอากาศและปรอทเป็น 1.15 kg/m และ 13,000 kg/m ตามลำดับ (ตอบ 01.8 kPa และ 688 mm Hg) HELIUM D = 10 m PHe = Pair 1 - 4 รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-24 1-25 บอลลูนบรรจุแก๊สฮีเลียมซึ่งมีความหนาแน่น 1/7 เท่าของความหนาแน่นของอากาศ โดยแรงลอยตัวของ บอลลูน (พิจารณาจาก F - Pair balloon) จะผลักดันให้บอลลูนลอยขึ้นในแนวดิ่ง ถ้าบอลลูนมีเส้น ผ่านศูนย์กลาง 10 m และบรรจุคน 2 คน ที่มีมวลคนละ 70 kg จงคำนวณหาความเร่งของบอลลูน เมื่อเริ่มปล่อยบอลลูน (กำหนดให้ Pair = 1.16 kg/m และไม่คิดน้ำหนักของตะกร้าและเชือก) (ตอบ 16.5 m/s²) m = 140 kg Altitude: 3 km P = 58 kPa รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-25 OIL SG=0.85 WATER = 1000 kg/m³ รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-26 1-26 ภาชนะทรงกระบอกสูง 10 m บรรจุน้ำที่มีความหนาแน่น 1000 kg/m และน้ำมันที่มีความถ่วงจําเพาะเท่ากับ 0.85 โดยชั้นของน้ำและชั้น ของนํ้ามันมีความสูงเท่ากัน จงพิจารณาหาความดันแตกต่างระหว่าง ด้านบนและด้านล่างของภาชนะ (ตอบ 90.7 kPa) 1-27 ภาชนะทำอาหารด้วยความดัน (pressure cooker) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วย ประหยัดเวลาในการทําอาหารได้ เนื่องจากสามารถควบคุมความดัน h = 10 m และอุณหภูมิภายในภาชนะให้สูงกว่าภาชนะทำอาหารทั่วไปโดยมีการ ป้องกันการรั่วที่รอยต่อระหว่างตัวภาชนะกับฝาเป็นอย่างดี ทำให้ไอน้ำ ระเหยออกจากภาชนะได้เฉพาะในบริเวณรูตรงกลางของส่วนที่เป็น ฝ่าเท่านั้น ส่วนที่อยู่ตรงกลางฝา ซึ่งเรียกว่า petcock จะเปิดระบาย Pat = 101 kPa atm Petcock PRESSURE COOKER A = 4 mm² รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-27

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอทำได้มั้ยครับ

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 1-1 กำหนดให้โคมไฟมีน้ำหนัก 220 N ถูกแขวนโดยเส้นลวด 3 เส้น ซึ่งเชื่อมต่อกันโดยใช้แหวนที่จุด A ดังที่แสดงในรูป ที่ Prob. 1-1 จงหาค่ามุม 6 ที่ทำให้หน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ย (average normal stress) ในเส้นลวด AC เป็นสองเท่าของ หน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยในเส้นลวด AD และจงหาค่าหน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในเส้นลวดทั้งสอง 6.3 mm 1.20 m 0.90 m P V A รูปที่ Prob. 1-1 1-2 กำหนดให้โครงข้อหมุน (truss) มีลักษณะดังที่แสดงในรูปที่ Prob. 1-2 จงหาหน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วน ต่างๆ ของโครงข้อหมุนพร้อมทั้งระบุด้วยว่าเป็นหน่วยแรงดึงหรือหน่วยแรงกดอัด เมื่อโครงข้อหมุนมีพื้นที่หน้าตัดดังต่อไปนี้ AAR = 960 mm², ABC = 516 mm², ua AAC AB = 385 mm² 1.20 m 0.90 m รูปที่ Prob. 1-2 E 45° B 8.9 mm 7.6 mm 1-3 ชิ้นส่วนต่างๆ ของโครงข้อหมุน ดังที่แสดงในรูปที่ Prob. 1-3 มีพื้นที่หน้าตัดเท่ากับ 806 mm ถ้ากำหนดให้หน่วยแรง ตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนใดๆ ของโครงข้อหมุนมีค่าได้ไม่เกิน 140 MPa จงหาค่าแรง P สูงสุด P รูปที่ Prob. 1-3 F 1.20 m 2.5 kN 7 B ›COS 45° D

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

เรื่องการกลั่น ทำไม่เป็น

18:17 ส. 4 ธ.ค. แlจ 31% 0 ๐. 01:01 < T 0 8 ? + : ] 2. ถ้าต้องการกลั่นของเหลวที่ประกอบด้วย Ethanol 60 โมลเปอร์เซ็นต์ และ Isopropanol 40 โมลเปอร์เซ็นต์ เพื่อที่จะแยกให้ได้ Ethanol 95 โมลเปอร์เซ็นต์ที่ยอดหอกลั่น และ Isopropanol 90 โมลเปอร์เซ็นต์ที่ก้นหอกลั่น ถ้าสารละลายที่ป้อนเข้าหอกลั่นเป็นของผสมระหว่างของเหลวและไอ จงหาจำนวนชั้นตามทฤษฎีของการกลั่นนี้ (ให้ q = 0.8 และ Reflux = 1.5 Rm) (30 คะแนน) โดยที่ Ethanol มีน้ำหนักโมเลกุล เท่ากับ 46.07 และ จุดเดือดที่ 78.4 องศาเซลเซียส Isopropanol มีน้ำหนักโมเลกุล เท่ากับ 60.10 และ จุดเดือดที่ 82.3 องศาเซลเซียส 1.0 0.9 0.8 0.7 0.6 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0.0 0.0 1.0+ 0.91 F 0.1 0.8ฯ -0.2 0.7- -0.3 0.6 - F0.4 0.51 -0.5 5 0.4า F0.6 0.33 -0.7 0.24 -0.8 0.13 F0.9 0.0+ - 1,0 0.0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.5 0.7 0.8 0.9 1.0 X1 = Mole fraction of Ethanol in liquid phase 11 Y1 = Mole fraction of Ethanol in vapor phase > < ๑ \E

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/2