ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไท... อ่านต่อ

ใบงานที..... อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภัสพรรณ เลาสุทแสน - สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเราได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23,38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีมลดส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งแหกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุด ราคาน้าเช้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข่าวสารที่ทันสมัย คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องการอยากทราบคำตอบของโจทย์เรื่องพริกไทย

อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภีสุพรรณ เลาสุทแสน - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ อาน เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคาน้ำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23.38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีผลผลิตส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งผลกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุดคือราคานำเข้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ไปทาน คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ จำนวน 20 รายโสผู้บริโภค ระโย 2006 207 คนในคร โลก 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? - คาคาชน ที่เกี่ยว 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ?ราคาที่ผลิต (1) ต้นตระก 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ) เทคโนโว เกมติม 28294 บริ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ข้อที่ไฮไลต์คือไม่เข้าใจค่ะ ช่วยหน่อยได้ไหมคะ🥲

1. ผู้ปล่อยเงินกู้นอกระบบได้โฆษณาว่า “ได้เงินใช้ทันใจ... กู้ 10,000 บาท จ่ายคืนวันละ 150 บาท 3 เดือน จาก ข้อความข้างต้น ให้คำนวณ หรือเปรียบเทียบจากแต่ละข้อต่อไปนี้ (1) จำนวนเงินที่ต้องจ่ายคืนทั้งหมดเป็นเงินบาท (2) ดอกเบี้ยที่ต้องจ่ายทั้งหมดเท่ากับเท่าไร กับการขอสินเชื่อส่วนบุคคลจากธนาคารใดธนาคารหนึ่ง (3) เมื่อพิจารณาจากเงินต้น และดอกเบี้ยทั้งหมด นำมาคิดดอกเบี้ยแบบคงที่ จงหาอัตราดอกเบี้ยต่อปี (4) เปรียบเทียบอัตราดอกเบี้ยต่อปีของการในครั้งนี้ (5) จงหาสาเหตุที่ทำให้ยังมีผู้ใช้บริการการให้กู้เงินนอกระบบ 2. มีการโฆษณาสินเชื่อทะเบียนรถซึ่งคิดดอกเบี้ยแบบคงที่ โดยกำหนด “ดอกเบี้ยเริ่มต้น 0.98% ต่อเดือน (เทียบเท่าอัตราดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก 21% ต่อปี)” จากข้อความดังกล่าวนี้จงแสดงวิธีทำในแต่ละข้อต่อไปนี้ (1) จงนำเสนอความรู้ ตัวอย่างเพื่อประกอบการทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเทียบเท่าอัตราดอกเบี้ยทั้งสองแบบ (2) จงหาอัตราส่วนของอัตราดอกเบี้ยแบบคงที่ต่ออัตราดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก 3. นายซื่อสัตย์มีรายได้ประจำเดือนละ 30,000 บาท มีหนี้ที่ต้องผ่อนชำระในช่วงนี้เดือนละ 5,000 บาท เขา ต้องการเปลี่ยนโทรศัพท์ใหม่ซึ่งรุ่นที่สนใจมีราคาประมาณ 35,000 - 40,000 บาท โดยที่ช่วงนี้ยังไม่มีเงิน สำหรับการซื้อ เขาควรพิจารณาประเด็นใดบ้างก่อนการตัดสินใจซื้อ โดยให้พิจารณาความสามารถในการผ่อน ชำระประกอบด้วย (ธนาคารแห่งประเทศไทยแนะนำว่าสัดส่วนการผ่อนชำระหนี้ทั้งหมดในแต่ละเดือน ไม่ควร เกิน 1 ใน 3 ของรายได้ต่อเดือน)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยทำแบบฝึกเศรษฐศาสตร์ หน่อยค่าบบบ

4. การค้าระหว่างประเทศนั้นส่งผลดีอย่างไร * (1 คะแนน) ผู้ประกอบการมีการปรับปรุงเทคโนโลยีอยู่เสมอ O ทำให้เกิดการสร้างความถนัดในการผลิต สามารถใช้เป็นเครืองมือต่อรองกับต่างประเทศได้ ถูกทุกข้อ 5. ข้อใดผิดเกี่ยวกับมาตราการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ ภาษี * (1 คะแนน) เป็นมาตราการที่สร้างความยุ่งยากให้ประเทศของ ตนเองส่งออกได้ยากขึ้น เริ่มหันมาใช้ข้อกำหนดทางด้านการเอาเปรียบ แรงงาน และข้อกำหนดทางด้านสิ่งแวดล้อม เป็นมาตรการที่ทำให้สินค้าของประเทศอื่นเข้ามา ขายในประเทศของตนเองได้ยากขึ้น มักจะไม่ใช้การเก็บภาษีนำเข้าโดยตรง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยทีค่ะ ใครเข้าใจบ้าง

ตอนที่ 2 มี 4 ข้อ เลือกทํา 3 ข้อ (15 คะแนน) ) ร็บ เซ ซิจ๕ป. ะ = ม ' ล2เเรซีอโร 1. บริษัท ชาลาลา จํากัด ของไทยได้มาลงทุนตั้งโรงงานผลิตเครื่องแต่งกายบุรุบในประเทศอินเดียโดยสามารถ ผลิตสินค้าได้มูลค่าปีละ 21,000,000 บาท บริษัท นิพนธ์ ประเทศอินเดีย จํากัด ซึ่งเป็นของคนอินเดียผลิต สินค้าในประเทศจีนได้มูลค่าปีละ 25,000,000 บาท และมีบริษัทของคนอินเดียผลิตสินค้าในประเทศอินเคีย ซึ่งประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการส่งออก โดยมีมูลค่าเท่ากับ 50,000,000 บาท มีแรงงานอินเดียไปทํางานในไทย ได้รับผลตอบแทน 15,000,000 บาท และแรงงานไทยทํางานในอินเดียได้รับผลตอบแทน 18,000,000 บาท . ร : โดยทั้งสามบริษัทมีรายจ่ายต่อปีได้แก่ ค่าจ้างแรงงาน 5,000,000 บาท ค่าเช่าที่ดิน 3,000,000 บาท ค่าคอกเบีย 2.000,000 บาท ค่าเสื่อมราคา 4,000.000 บาท ค่าผ้าและวัสดุ 2.000,000 บาท กําไรของผู้ประกอบการ 5.600,000 บาท ภาษีเงินได้นิติบุคคล 2,500,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.400.000 บาท และภาษีธุรกิจเฉพาะ 2.200,000 บาท ให้แสดงวิธีการหาค่าต่างๆ ต่อไปนี้ 1.1 มูลค่าของผลผลิตที่เป็น 608, @ง๒ ของไทย 1.2 มูลค่าของผลผลิตที่เป็น 605, 6๕3๒ ของอินเคีย 1.3 มูลค่าของผลผลิตที่เป็น งาง6 ของไทย 1.4 มูลค่าของผลผลิตที่เป็น มาง๒ ของอินเดีย 1.5 มูลค่าของผลผลิตที่เป็น ง1 ของอินเดีย 2. สมมติว่า ประเทศไทยมีการค้าขายกับการลงทุนข้ามชาติ และมีรายการต่างๆ ดังนี้ (ให้แสดงวิธีการหาค่าต่างๆ ) ผลตอบแทนบัจจัยการผลิตใน ต 1 6 * 1ห ต่างประเทศ อินเดีย ญี่ปุ่น ไทย อินเคีย 25,000 8,000 2.000 3,500 6,000 - 2.000 2.000 ญี่ปุ่น 70,000 30,000 5.000 8.000 2.500 3.000 - 4.000 ไทย 90,000 50.000 3.000 5.000 15,000 1.000 2.500 - 2.1 605, 6ม ของไทยมีค่าเท่ากับเท่าไร 2.2 605, 6มธ ของญี่ปุ่นมีค่าเท่ากับเท่าไร 2.3 6๕0ธ, สมธ ของอินเดียมีค่าเท่ากับเท่าไร 2.4 มูลค่าการส่งออกสุทธิของทั้ง 3 ประเทศมีค่าเท่ากับเท่าไร 2.5 รายได้สุทธิจากต่างประเทศของไทย ญี่ปุ่นและอินเคียมีค่าเท่ากับเท่าไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0