ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไท... อ่านต่อ

ใบงานที..... อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภัสพรรณ เลาสุทแสน - สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเราได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23,38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีมลดส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งแหกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุด ราคาน้าเช้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข่าวสารที่ทันสมัย คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องการอยากทราบคำตอบของโจทย์เรื่องพริกไทย

อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภีสุพรรณ เลาสุทแสน - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ อาน เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคาน้ำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23.38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีผลผลิตส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งผลกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุดคือราคานำเข้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ไปทาน คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ จำนวน 20 รายโสผู้บริโภค ระโย 2006 207 คนในคร โลก 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? - คาคาชน ที่เกี่ยว 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ?ราคาที่ผลิต (1) ต้นตระก 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ) เทคโนโว เกมติม 28294 บริ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอจะรู้จักทฤษฎีของความผุกร่อน ของนักเศรษฐศาสตร์คนนี้ไหมคะ พยายามหาแล้วแต่หาไม่เจอจริงๆ รบกวนหน่อยนะคะ

20:43 อ. 5 ต.ค. * e) (83% hmong.in.th โจเซฟ Schumpeter TIN TAI TRO mgid > ลงขายรถ ได้ราคาดี th. CARRO.co อายุ 60 ปี ลืมไปว่านกเขาไม่กินน้ำ มาดูวิธีผม! ป้องกันความดัน ปวด เป็นไง! ลงขายรถง่ายฟรี ที่ CARRO หัว มือชาด้วยธรรมชาติ 100% Carro Duracore Hapanix โจเซฟ Alois ซัม ( เยอรมัน: [ompete] : 8 กุมภาพันธ์ 1883 - 8 มกราคม 1950) (3)เป็นออสเตรียเศรษฐศาสตร์การเมือง เขาเกิดที่เมืองโมราเวียและ ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของเยอรมัน - ออสเตรียในช่วงสั้น ๆ ในปี พ.ศ. 2462 ในปี พ.ศ. 2475 เขาได้อพยพไปยัง สหรัฐอเมริกาเพื่อเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดซึ่งเขายังคงดำรงตำแหน่งจนกระทั่งสิ้นสุดอาชีพการงานและในปี พ.ศ. 2482ได้รับ สัญชาติอเมริกัน ซัมเป็นหนึ่งในนักเศรษฐศาสตร์ที่มีอิทธิพลมากที่สุดของศตวรรษที่ 20 ต้นและ ความนิยมคำว่า " ทำลายความคิดสร้างสรรค์ " ซึ่งได้รับการประกาศเกียรติคุณ จากเวอร์เนอร์ Sombart [4}[5][6] โจเซฟ Schumpeter ชีวิตในวัยเด็กและการศึกษา ซัมเกิดใน Triesch, เบิร์กส์โมราเวีย (ตอนนี้การลงโทษในสาธารณรัฐเช็กนั้นเป็น ส่วนหนึ่งของออสเตรียฮังการี) ใน 1,883 เพื่อคาทอลิก ที่พูดภาษาเยอรมันพ่อแม่ ทั้งสองยายของเขาเป็นสาธารณรัฐเช็ก(7|schumpeter ไม่ยอมรับเชื้อสายเช็ก ของเขา; เขาคิดว่าตัวเองเชื้อชาติเยอรมัน 7 พ่อของเขาเป็นเจ้าของโรงงาน แต่ เขาเสียชีวิตเมื่อโจเซฟอายุเพียงสี่ขวบ (B)ในปี 1893 โจเซฟและแม่ของเขาย้าย ไปอยู่ที่กรุงเวียนนา 9ใช้มเป็นลูกน้องที่ซื่อสัตย์ของฟรานซ์โจเซฟฉันออสเตรีย (7) หลังจากเข้าเรียนที่Theresianum Schumpeter เริ่มอาชีพของเขาในการเรียน กฎหมายที่มหาวิทยาลัยเวียนนาภายใต้นักทฤษฎีทุนชาวออสเตรียEugen von Bohm-Bawerkจบการศึกษาระดับปริญญาเอกในปี 1906 ในปี 1909 หลังจาก ทัศนศึกษาบางครั้งเขาก็ได้เป็นศาสตราจารย์ด้านเศรษฐศาสตร์และรัฐบาลที่ มหาวิทยาลัย Czernowitzในวันที่ทันสมัยยูเครน ในปี 1911 เขาได้เข้าร่วมมหา เกิด วิทยาลัยกราชซึ่งเขายังคงอยู่จนถึงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง 8 กุมภาพันธ์ 2426 Triesch , โมราเวีย , ออสเตรียฮังการี ในปีพ.ศ. 2461 Schumpeter เป็นสมาชิกของคณะกรรมาธิการการขัดเกลาทาง สังคมที่จัดตั้งโดยสภาผู้แทนประชาชนในเยอรมนี ในเดือนมีนาคมปี 1919 เขา (ตอนนี้การลงโทษ, สา ธารณรัฐเช็ก)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค่ะ ข้อไหนถูกบ้างคะ

8. ข้อความต่อไปนี่ “ถูก” หรือ “ผิด” 8.1 ในระบบเศรษฐกิจแบบตลาด (ทาลๆ«1 @๕๐๓๐กา) ธุรกิจ (เท) จะตัดสินใจว่าจะจ้าง งานและทําการผลิตสินค้า 8.2 ในระบบเศรษฐกิจแบบตลาด “มือทีมองไม่เห็น ([กง5!01@ กลก4)” จะทําให้ความเป็นอยู่ ของสังคมโดยรวมดีขึ้น 8.3 ในระบบเศรษฐกิจแบบตลาด ครัวเรือน (|1๐น5๕๐14) จะตัดสินใจว่าจะทํางานอะไรและ ซือสินค้าด้วยเงินทิได้รับจากการทํางาน 8.4 ในระบบเศรษฐกิจแบบตลาด รัฐบาลจะกําหนดนโยบายเพื่อให้ครัวเรือนและธุรกิจทําตาม 8.5 ในระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนจากส่วนกลาง (๐๑กปัลเษ เวเลททลส 6๕๐ท๐ทาท) จะใช้ ราคาเป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรมากกว่าระบบเศรษฐกิจแบบตลาด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0