ภาษาไทย
มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

ตอนที่ ๔ คำชี้แจง : จงเลือกตัวอักษรหน้าข้อความด้านขวามือไปใส่ในช่องว่างหน้าข้อความ ด้านซ้ายมือให้ถูกต้องและสัมพันธ์กัน ๑. การขอรับบริจาคหนังสือ ๒. การโฆษณารถยนต์ เที่ยวไทยครึกครื้น เศรษฐกิจไทยคึกคัก เลือกตั้งคราวนี้ อย่านอนหลับทับสิทธิ์ ๕. ครีมทาหน้าเด้ง สวยภายใน ๕ นาที 5. ม็อบป่วนกรุง ๗. การขอบริจาคคอมพิวเตอร์ ๔. ทีวีใหม่ บางเฉียบ ภาพคมชัด ๔. ซื้อวันนี้รับฟรี ประกันภัยชั้น ๑๐. รองเท้าที่ใส่แล้วสบายจนชั่วชีวิต 31. ก. เพื่อเชิญชวน ข. เพื่อโฆษณาสินค้า หรือบริการ ค. เพอชวนเชอ
* ตอนที่ ๓ คำชี้แจง : จงเลือกตัวอักษรหน้าข้อความด้านขวามือไปใส่ในช่องว่างหน้าข้อความ “สั่งเลยอร่อยทุกอย่าง ก. สารที่ให้ความรู้ ๒. กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของไทยนาน ๔๑๗ ปี ข. สารที่โน้มน้าวใจ มีพระมหากษัตริย์ปกครองทั้งสิ้น ๓๓ พระองค์ ค. สารที่จรรโลงใจ ออกกำลังกายทำให้สุขภาพดี เริ่มวันนี้ที่ตัวคุณ ซ่อนชู้ชูช่ออรชร ซ่อนกลิ่นส่งกลิ่นประทินแกม 61. ด้านซ้ายมือให้ถูกต้องและสัมพันธ์กัน เหมือนเราซ่อนเป็นชู้คู่แฉล้ม เหมือนกลิ่นแก้มโฉมยงเมื่อส่งตัว ๕. รุจีดูรายการกบนอกกะลา d ๗. 5. ช่วยราษฎร์ ช่วยรัฐ ช่วยประหยัดน้ำประปา มนัสชมภาพยนตร์เรื่องรักแห่งสยาม ๔. สารที่ให้ข้อเท็จจริงในสาขาวิชาต่างๆ ๔. แม่น้ำไนล์เป็นต้นกำเนิดของอารยธรรมอียิปต์ .....................รายการธรรมะทูเดย์
๑๐. จงยกตัวอย่างข้อความโฆษณา ตอนที่ ๓ คำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย / หน้าข้อที่ถูก และเครื่องหมาย X หน้าข้อที่ผิด พร้อมอธิบายเหตุผลข้อที่เห็นว่าผิด ๑. การพูดโน้มน้าวใจเป็นการสื่อสารโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ฟังคล้อยตาม เชื่อถือ แต่ไม่ จําเป็นต้องเปลี่ยนพฤติกรรมก็ได้ แล้วแต่วิจารณญาณของผู้ฟัง ๒. สารที่เป็นการโน้มน้าวใจมักพบตามแหล่งต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ เป็นต้น การทำให้เชื่อ การชี้แนะ ชักชวน แนะนำ มีความหมายคล้ายคลึงกับคำว่าโน้มน้าว ๔. การพูดโน้มน้าวใจที่ดีต้องพูดแบบหักหาญน้ำใจผู้ฟังให้มากที่สุด เพื่อให้ผู้ฟังเกิด 61. อารมณ์สะเทือนใจ ๕. ผู้พูดโน้มน้าวใจที่ดีจำเป็นต้องมีคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อจะโน้มน้าวใจให้เป็นไปใน ทิศทางที่ดี เกิดประโยชน์ 5. การเชิญชวนให้ใช้สินค้าที่ผลิตในประเทศไทยเป็นการพูดโน้มน้าวใจอย่างหนึ่ง ๗. การอธิบายวิธีการซ่อมรถมอเตอร์ไซค์เป็นการพูดโน้มน้าวใจอย่างหนึ่ง ผู้พูดโน้มน้าวใจควรแต่งกายด้วยเครื่องประดับที่อลังการและมีราคาแพง เพราะจะทำให้ ดูน่าเชื่อถือ ๔. การใช้ภาษาที่ดีและแทรกอารมณ์ขันบ้างในการพูดโน้มน้าวใจ จะทำให้การโน้มน้าวใจ ประสบผลสำเร็จ ๑๐. การพูดโน้มน้าวใจทุกครั้งสิ่งที่ควรคำนึงถึงเพียงอย่างเดียวคือผู้ฟัง
ตอนที่ ๔ คำชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย / หน้าข้อที่ถูก และเครื่องหมาย X หน้าข้อที่ผิด พร้อมอธิบายเหตุผลข้อที่เห็นว่าผิด ๑. ภาษาที่โน้มน้าวใจควรให้ข้อเท็จจริงโดยละเอียด ๒. ภาษาที่โน้มน้าวใจอาจไม่สร้างสรรค์ก็ได้ ๓. สารที่ให้ความรู้เป็นสารที่เป็นข้อเท็จจริงด้วย ๔. การฟังบรรยายเรื่องไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ๒๐๐๙ เป็นสารที่ให้ความรู้ ๕. การหาใจความสำคัญไม่ใช่แนวทางการฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ 5. สารประเภทโน้มน้าวใจเป็นสารที่ต้องใช้วิจารณญาณมากกว่าสารประเภทอื่น ๗. การพิจารณาข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจะนำไปสู่การค้นหาเจตนาของผู้ส่งสาร ๔. สุภาษิต คำพังเพย เป็นสารประเภทให้ความรู้ ๔. การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณทำให้พิจารณาความน่าเชื่อถือของสารได้ ๑๐. “อ่าน ๑ เล่ม ได้ความรู้เพิ่มถึง ๒ เล่ม” เป็นสารประเภทโน้มน้าวใจ สา มา 2 ตา A นก ต่า
PromotionBanner

คำตอบ

ข้อสงสัยของคุณเคลียร์แล้วหรือยัง?

เมื่อดูคำถามนี้แล้ว
ก็จะเจอคำถามเหล่านี้ด้วย😉