Science
中学生

สอบถามข้อสอบสามหน้านี้ค่ะ พอดีลองคิดแล้วไม่รู้ว่าจะถูกรึป่าว รบกวนช่วยอธิบายให้หน่อยได้ไหมคะ?

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น ปรากฏการณ์เกี่ยวกับอากาศในชีวิตประจำวัน 32. หากนำข้อมูลมาเขียนเป็นกราฟจะตรงกับข้อใด 36. ในอากาศแห่งหนึ่งมีปริมาตร 16 ลูกบาศก์เมตร มีมวล 8 กิโลกรัม 1. จะมีความหนาแน่นเท่าไร ความหนาแน่น 1. 1.4 kg/m 2. 0.71 kg/m 3. 0.5 kg/m 4. 2 kg/m - ความสูง 2. ความหนาแน่น 37. อากาศในห้องที่มีขนาดความกว้าง 6 เมตร ยาว 6 เมตร สูง 3 เมตร มีมวลทั้งหมด 150 กิโลกรัม จะมีความหนาแน่นเท่าไร - ความสูง 3. 1. 1.39 kg/m ความหนาแน่น 2. 1.19 kg/m 3. 1.59 kg/m 4. 2.89 kg/m ความสูง 4. ความหนาแน่น 38. อากาศที่ระดับน้ำทะเล 1.3 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร อากาศ 0.01 กิโลกรัม จะมีปริมาตรเท่าไร 1. 0.77 m - ความสูง 2. 0.077 m 3. 0.0077 m 4. 0.00077 m 33. จากข้อมูลในตาราง ที่ความสูง 8 กิโลเมตรจากระดับน้ำทะเลจะมีอากาศอยู่กี่กรัม ในปริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตร 1. 0.526 g 2. 5.26 g 39. แรงดันของอากาศจัดเป็นสมบัติเรื่องใดของอากาศ 3. 52.6 g 1. อากาศเป็นของไหล 4. 526 g 2. อากาศต้องการที่อยู่ 3. อากาศเปลี่ยนรูปร่างตามภาชนะ 4. อากาศสัมผัสไต้ ความหนาแน่นของอากาศที่ระดับผิวน้ำทะเลและระดับความสูง 10 กิโลเมตร แตกต่างกันกี่เปอร์เซ็นต์ 40. ผู้ที่ทำการศึกษาเรื่องของบรรยากาศจนสามารถวัดความดันของอากาศได้สำเร็จ คือใคร 1. 50 % 2. 54 % 1. อาคีมิดีส 3. 59 % 2. เซอร์ไอแซก นิวต้น 4. 66 % 3. เทอริเซลลี 4. เจมส์ วัตต์ 35. หากสูบอากาศที่ความสูง 2 กิโลเมตรจากระดับน้ำทะเล ใส่ภาชนะขนาด 2 ลิตร จำนวน 2 ขวด จะมีอากาศอยู่กี่กรัม 1. 4.028 g 41. ความดัน 600 มิลลิเมตรปรอท มีความหมายว่าอย่างไร 2. 2.048 g 1. ความดันที่ทำให้ปรอทในหลอดลดลงไปจากเดิม 600 มิลลิเมตร 2. ความดันที่ทำให้ปรอทในหลอดเพิ่มขึ้นจากระดับเดิม 600 มิลลิเมตร 3. 4.280 g 4. 2.480 g 3. ความดันที่ทำให้ระดับของปรอทในหลอดปลายปิดดันสูงจากระดับอ้างอิงไป 600 มิลลิเมตร 4. 600 มิลลิเมตรปรอท เป็นค่าของความดันอากาศที่ 1 บรรยากาศ Page 397
วิทยาศาสตร์ ม.ต้น ปรากฏการณ์เกี่ยวกับอากาศในชีวิตประจำวัน 48. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับจุดเดือดของน้ำกับความดันบรรยากาศ 1. บริเวณที่มีความดันบรรยากาศสูง จะมีผลทำให้จุดเดือดของน้ำสูง 2. บริเวณที่มีความดันบรรยากาศต่ำ จะมีผลทำให้จุดเดือดของน้ำต่ำกว่า ระดับน้ำทะเล 3. หากจุดเดือดของน้ำลดไป 1c แสดงว่าบริเวณดังกล่าวมีความดันต่ำกว่าที่ ระดับน้ำทะเลไป 27 mmHg 4. หากการหาจุดเดือดที่บริเวณใดบริเวณหนึ่งแล้วจุดเดือดของน้ำเกิน 100*c แสดงว่าบริเวณดังกล่าวมีความดันอากาศน้อยกว่าที่ระดับน้ำทะเล 42. ข้อใดที่สามารถวัดความดันของบรรยากาศได้ 1. ไฮโกรมิเตอร์ 2. แอลติมิเตอร์ 3. แอนิมอมิเตอร์ 4. เทโลสโคป 43. ข้อใดไม่ใช่ค่าของความดันที่ 1 บรรยากาศ 1. ความดันที่ทำให้ปรอทเคลื่อนที่ขึ้นไปได้สูง 76 เซนติเมตร 2. เป็นค่าของแรงที่อากาศกดยังพื้นที่หนึ่งหน่วย จำนวน 101,310 นิวตัน ต่อตารางเมตร 3. แรงของอากาศที่ทำให้น้ำสูงขึ้นไป 1.03 เมตร 4. ความดันที่มีค่าเท่ากับ 1,013.25 มิลลิบาร์ 49. นักเรียนกลุ่มหนึ่งทำการวัดความดันของบรรยากาศที่ตำแหน่งหนึ่งของยอดเขา พบว่าอ่านค่าได้ 700 มิลลิเมตรปรอท ยอดเขานี้อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลเมตร 1. 600 m 2. 660 m 3. 825 m 4. 1,050 m 44. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับความดันบรรยากาศ 1. ที่ระดับน้ำทะเล ความดันอากาศมีค่าเท่ากัน 2. ยิ่งความสูงจากน้ำทะเลมากขึ้นความดันบรรยากาศจะค่อยๆ ลดลง 3. ความดันบรรยากาศเป็นน้ำหนักของอากาศกดลงยังพื้นที่หนึ่งหน่วยตารางเมตร 4. หากความดันบรรยากาศลดไป 1 มิลลิปรอท แสดงว่าบริเวณนั้นอยู่สูงจาก น้ำทะเล 10.3 เมตร 50. ที่ความสูง 100 เมตรจากน้ำทะเล จะวัดความดันบรรยากาศได้กี่มิลลิเมตรปรอท 1. 750.9 mmHg 2. 780.9 mmHg 3. 650.9 mmHg 4. 850.9 mmHg 45. บารอมิเตอร์ประเภทใดที่ทำงานโดยอาศัยหลักของความแตกต่างของความดัน ภายในและภายนอก 1. บารอกราฟ 2. แอนิรอยด์บารอมิเตอร์ 3. แอลติมิเตอร์ 51. บนเครื่องบิน ผู้โดยสารอ่านค่าของความดันบรรยากาศได้ 200 มิลลิเมตรปรอท จงหาว่า ณ ขณะนั้นเครื่องบินอยู่สูงจากระดับน้ำทะเลเมตร 4. บารอมิเตอร์ 1. 6,060 m 2. 6,106 m 3. 6,016 m 4. 6,160 m 46. เครื่องมือวัดความดันบรรยากาศแบบใดที่สามารถบันทึกผลของความดันอากาศได้ อย่างต่อเนื่องได้ 1. บารอกราฟ 2. แอนิรอยด์บารอมิเตอร์ จากข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 52-55 นักเรียนกลุ่มหนึ่งทำการศึกษาเพื่อจุดเดือดของน้ำ โดยทำการทดลอง 3 ครั้ง ในช่วงเวลา หนึ่งได้ผล ดังตาราง 3. แอลติมิเตอร์ 4. บารอมิเตอร์ การทดลองครั้งที่ จุดเดือดที่อ่านได้ (PC) 1 98.2 2 98 47. เครื่องมือวัดความดันของบรรยากาศชนิดใดที่แสดงผลแตกต่างจากชนิดอื่นๆ 3 97.8 1. บารอกราฟ 52. การหาจุดเดือดครั้งนี้ควรบันทึกค่าจุดเดือดของน้ำเฉลี่ย(องศาเซลเซียส 2. แอนิรอยด์บารอมิเตอร์ 1. 98 c 3. แอลติมิเตอร์ 4. บารอมิเตอร์ 2. 97.8 c 3. 98.2 c 4. 294 c Page 398
วิทยาศาสตร์ ม.ต้น ปรากฏการณ์เกี่ยวกับอากาศในชีวิตประจำวัน 53. หากใช้ค่าเฉลี่ยของจุดเดือดของการทดลองนี้มาวิเคราะห์ต่อ จุดที่ทำการทดลองนี้ จะอ่านค่าความดันได้กี่มิลลิเมตรปรอท 58. ความดันบรรยากาศจะเป็นกี่มิลลิเมตรของปรอท ถ้าจุดเดือดลดลง 18 องศาฟาเรนไฮต์ 1. 54 mmHg 1. 270 mmHg 2. 814 mmHg 2. 490 mmHg 3. 724 mmHg 3. 540 mmHg 4. 706 mmHg 4. 670 mmHg 54. ตำแหน่งที่นักเรียนกลุ่มนี้ทำการทดลองอยู่สูงหรือต่ำกว่าระดับน้ำทะเลเมตร 1. อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเล 706 เมตร 2. อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเล 594 เมตร 3. อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล 54 เมตร 4. อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล 2 เมตร 59. เมื่อระดับปรอทในบารอมิเตอร์ลดลง 40 มิลลิเมตร อยากทราบว่าความสูง เปลี่ยนไปเท่าไร 1. 300 m 2. 330 m 3. 400 m 4. 440 m 55. นักเรียนกลุ่มนี้ที่ทำการทดลองควรอยู่ที่จังหวัดใดของประเทศไทย 1. นนทบุรี 60. นักเดินทางวัดความดันบนยอดเขาแห่งหนึ่งได้ 600 มิลลิเมตรของปรอท ยอดเขานั้นสูงเท่าไร 2. นครสวรรค์ 3. นครราชสีมา 1. 1,680 m 2. 1,760 m 4. สมุทรสาคร 3. 1,960 m 4. 1,670 m 56. ถ้าบรรจุปรอทในหลอดแก้ว ปรอทขึ้นไปได้สูง 760 มิลลิเมตร เนื่องจากอากาศดัน ปรอทขึ้นไปในหลอดแก้วนั้น หากใช้สารที่มีความหนาแน่นเป็นครึ่งหนึ่งของปรอท 61. หากต้องการให้น้ำเดือด 80 องศาเซลเซียส แสดงว่าจุดที่ทำการวัดจะต้องมีความดัน ของอากาศเท่ากับกี่มิลลิเมตรของปรอท อากาศจะดันสารนั้นขึ้นไปสูงเท่าไร กำหนดความหนาแน่นของปรอทเท่ากับ 13.6 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร 1. 200 mmHg 2. 220 mmHg 1. 1,280 mm 3. 540 mmHg 2. 1,320 mm 4. 440 mmHg 3. 1,520 mm 4. 1,620 mm 57. เมื่อต้มน้ำบนยอดเขาแห่งหนึ่งปรากฏว่าน้ำเดือดที่อุณหภูมิ 75 องศาเซลเซียส ความสูงของภูเขาลูกนั้นเท่ากับเท่าไร 62. ที่แห่งหนึ่งวัดความดันได้ 600 มิลลิเมตรของปรอท ถ้าจะต้มน้ำ น้ำจะเดือดที่อุณหภูมิเท่าไร 1. 6,425 m 1. 94.07 % 2. 6,825 m 2. 93.07 c 3. 7,425 m 3. 92.07 c 4. 7,625 m 4. 91.07 c Page 399
ลม ฟ้า อากาศ
PromotionBanner

回答

まだ回答がありません。

疑問は解決しましたか?