ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค้าบ

6. ลวดตัวนำสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 0.6 m ยาว 1.0 m มีกระแสไฟฟ้า 5 A ไหลผ่านทิศทางดังรูป จงคำนวณหา ขนาดและ ทิศทางจองสนามแม่เหล็กที่จุด P 1.0 m 0.6 m I = 5 A 0.3 0.5 [แนะ: 0 = tan |= 31° และ 0, = 90° – 31° = 59°] = [Ans 7.78×10T, พุ่งออกจากกระดาษ 7. สายเคเบิลสองชั้นยาวมาก ตัวนำในรัศมี 6 ล้อมรอบด้วยตัวนำนอกที่มีรัศมีภายใน 6 รัศมีภายนอก 2 โดยมีแกนร่วมกัน ถ้ามี กระแสไฟฟ้า 1 ไหลผ่าน ตัวนำทั้งสองในทิศตรงกันข้าม ดังรูป ถ้ากระแสไฟฟ้ากระจายอย่างสม่ำเสมอทั่วพื้นที่หน้าตัด จงหา ขนาดของสนามแม่เหล็กที่ระยะห่าง ๆ จากแกนกลางของสายเคเบิล เมื่อ (ก) r < c (9) c <r < 6 (0) b c r <a (4) r > a (Ans. ก) ม. HI 9) 2m² 2mur a) O 2xr (a²-b² 8. ขดลวดวงกลมรัศมี 5 cm มีจำนวนรอบ 20 รอบ มีความต้านทาน R = 0.5 02 วางอยู่ในสนามแม่เหล็กที่เปลี่ยนแปลงตาม เวลา B = 0.5t' + 0.02t เทสลา โดย ( มีหน่วยเป็นวินาที จงหา (ก) แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำขณะเวลา t = 2 วินาที (ข) กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำขณะเวลา t = 2 วินาที [Ans. 1) -0.32 V, v) -0.64 A] 9. ขดลวด 100 รอบมีขนาดพื้นที่หน้าตัด 5 ตารางเซนติเมตร วางไว้ในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก 0.4 เทสลา เมื่อเวลาผ่านไป 0.003 วินาที พบว่า สนามแม่เหล็กเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า จงหาขนาดของแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ [Ans. 6.67 V] 10. ลวดตัวนำตรงยาว 6 เซนติเมตร นำมาขดเป็นวงกลม นำไปวางในสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอ 0.02 เทสลา เมื่อเวลาผ่านไป 0.05 วินาที สนามแม่เหล็กกลับทิศทางในทิศตรงข้าม จงหาขนาดของแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ [Ans. 2.3x10 v] 11. ขดลวดสี่เหลี่ยมขนาด กว้าง 0.4 เมตร ยาว 0.6 เมตร จำนวน 5 รอบ วางอยู่ในสนามแม่เหล็กขนาด 0.03 เทสลา เมื่อ เวลาผ่านไป 0.02 วินาที สนามแม่เหล็กเพิ่มขึ้น โดยมีค่าเป็น 5/3 เท่าจากเดิม จงหาขนาดของแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ [Ans. 1.2 V]

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค้าบ

การบ้านฟิสิกส์สําหรับวิศวกร 2 (ปลายภาค) 1. โปรตอนเคลื่อนที่เข้าไปในสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอด้วยอัตราเร็ว 1.0 x 10 m/s ทิศ +2 ซึ่งตั้งฉากกับทิศของสนามแม่เหล็ก ถ้า ในทันทีที่เข้าสู่สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กทำให้โปรตอนมีอัตราเร่ง 2.0 x 10 m/s ทิศ +x จงหาขนาดของสนามแม่เหล็ก (กำหนดให้: mp = 1.67 x 10-27 kg และ q = 1.6 x 10-19 C) [Ans. 2.1 × 10-2 T;] 2. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วต้น 1.4 x 10 m/s เข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอ ทำให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็น รูปครึ่งวงกลม รัศมี 50 cm นพ้นไปจากบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก จงหาก) ขนาดของสนามแม่เหล็ก ) เวลาที่ อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก (กำหนดให้: m. = 9.1 x 10-31 kg และ 4% = 1.6 x 10-19 C) [Ans. n) 1.6 x 10 T; v) 1.12 x 10-7 s] 3. ใช้โคลตรอนเครื่องหนึ่งออกแบบเพี่อใช้เร่งโปรตอน โดยสนามแม่เหล็กภายในโชโคลครอนมีจนาดเป็น 0.45 T และรัศมีการ เคลื่อนที่จองโปรตอนมีค่าเท่ากับ 1.2 m จา ) ความถี่เชิงมุม โคลดรอน ) อัตราเร็วสูงสุดของโปรตอน [Ans. 1) 4.3 x 10' rad/s; 1) 5.2 x 10 m/s] 4. อิเล็กตรอนตัวหนึ่งถูกยิงเข้าไปในสนามแม่เหล็ก ขนาด 0.3 เทสลา ด้วยอัตราเร็ว 2.0 X 10 เมตรต่อวินาที จาก แหล่งกำเนิด ความเร็วต้นของอิเล็กตรอนทำมุม 70 องศา กับแกน x (กำหนดให้: m、 = 9.1 × 10-31 kg และ q = 1.6 x 10-19 C) y จงคานวณหา ก) ระยะห่างระหว่างเกลียว (9) 1) จองการเคลื่อนที่ (R) 70 B 14 [Ans. 8.1 x 10 m] [Ans. 3.6 x 10 m] 5. ว าตัวหนึ่งมีรูปร่างสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวส่านละ 60 cm มีกระแสไฟฟ้าในโครงลวด 22 4 จงหา ขนาดและทิศทางของ สนามแม่เหล็กที่จุดศูนย์กลางโครงลวดสี่เหลี่ยม [Ans. 4.15×10T, กระดาษ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค้าบ ขอบคุณล่วงหน้าค้าบ

การบ้านฟิสิกส์สําหรับวิศวกร 2 (ปลายภาค) 1. โปรตอนเคลื่อนที่เข้าไปในสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอด้วยอัตราเร็ว 1.0 x 10 m/s ทิศ +2 ซึ่งตั้งฉากกับทิศของสนามแม่เหล็ก ถ้า ในทันทีที่เข้าสู่สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กทำให้โปรตอนมีอัตราเร่ง 2.0 x 10 m/s ทิศ +x จงหาขนาดของสนามแม่เหล็ก (กำหนดให้: mp = 1.67 x 10-27 kg และ q = 1.6 x 10-19 C) [Ans. 2.1 × 10-2 T;] 2. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วต้น 1.4 x 10 m/s เข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กสม่ำเสมอ ทำให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็น รูปครึ่งวงกลม รัศมี 50 cm นพ้นไปจากบริเวณที่มีสนามแม่เหล็ก จงหาก) ขนาดของสนามแม่เหล็ก ) เวลาที่ อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก (กำหนดให้: m. = 9.1 x 10-31 kg และ 4% = 1.6 x 10-19 C) [Ans. n) 1.6 x 10 T; v) 1.12 x 10-7 s] 3. ใช้โคลตรอนเครื่องหนึ่งออกแบบเพี่อใช้เร่งโปรตอน โดยสนามแม่เหล็กภายในโชโคลครอนมีจนาดเป็น 0.45 T และรัศมีการ เคลื่อนที่จองโปรตอนมีค่าเท่ากับ 1.2 m จา ) ความถี่เชิงมุม โคลดรอน ) อัตราเร็วสูงสุดของโปรตอน [Ans. 1) 4.3 x 10' rad/s; 1) 5.2 x 10 m/s] 4. อิเล็กตรอนตัวหนึ่งถูกยิงเข้าไปในสนามแม่เหล็ก ขนาด 0.3 เทสลา ด้วยอัตราเร็ว 2.0 X 10 เมตรต่อวินาที จาก แหล่งกำเนิด ความเร็วต้นของอิเล็กตรอนทำมุม 70 องศา กับแกน x (กำหนดให้: m、 = 9.1 × 10-31 kg และ q = 1.6 x 10-19 C) y จงคานวณหา ก) ระยะห่างระหว่างเกลียว (9) 1) จองการเคลื่อนที่ (R) 70 B 14 [Ans. 8.1 x 10 m] [Ans. 3.6 x 10 m] 5. ว าตัวหนึ่งมีรูปร่างสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวส่านละ 60 cm มีกระแสไฟฟ้าในโครงลวด 22 4 จงหา ขนาดและทิศทางของ สนามแม่เหล็กที่จุดศูนย์กลางโครงลวดสี่เหลี่ยม [Ans. 4.15×10T, กระดาษ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยแสดงวิธีทำให้หน่อยค่ะ🙏🏻

แบบฝึกหัด momentum 1. รถยนต์วิ่ง 10 m/s ชนต้นไม้แล้วหยุดในเวลา 0.26 5 คนอยู่ในรถน้ำหนัก 70 kg คาด seatbelt ไว้ จะมี แรงที่ seatbelt ทำต่อคนนั้นเท่าไร 2. ฆ้อนหนัก 500 g ทุบลงบนตะปูด้วยอัตราเร็ว 8 m/s ทำให้ตะปูจมลงไป 1 cm ประมาณว่าความเร่งคงที่ ขณะที่ตะปูเริ่มเจาะลงไป จงหาเวลาที่ใช้ และ แรงเฉลี่ยแต่ละแรงที่กระทำต่อตะปู 3. ลูกปืนมวล 5.20 g มีความเร็ว 672 m/s ชนเข้ากับแท่งไม้มวล 700 g ที่วางอยู่บนพื้นลื่น ลูกปืนทะลุออก จากแท่งไม้และเคลื่อนที่ต่อไปด้วยความเร็ว 428 m/s จงหาความเร็วของแท่งไม้ [1.81 m/s] 4. กล่องมวล 6.0 kg กำลังเคลื่อนที่บนพื้นลื่นด้วยความเร็ว 9.0 m/s เมื่อมีกล่องอีกใบหนึ่งมวล 12 kg ตกลงสู่ด้านบนแล้วติดกันไป จงหาความเร็วของกล่องที่เคลื่อนที่ไปด้วยกัน [3.0 m/s] 5. ลูกปืนมวล 4.5 g ถูกยิงไปยังแท่งไม้มวล 2.4 kg ซึ่งวางอยู่บนพื้นที่มีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน จลน์ระหว่างไม้กับพื้นเป็น 0.20 ลูกปืนหยุดอยู่ในแท่งไม้ซึ่งเลื่อนไถลไปบนพื้น 1.8 m จงหา ก) ความเร็ว ของแท่งไม้ตอนแรกที่ลูกปืนฝังเข้าไป [2.7 m/s] ข) ความเร็วของลูกปืนก่อนชนกับแท่งไม้ [1.4 x 10 m/s] 6. รถบังคับวิทยุมวล 340 g เคลื่อนที่บนพื้นลื่นด้วยความเร็ว 1.2 m/s ชนแบบยืดหยุ่นกับรถอีกคันหนึ่งซึ่งอ ยู่นิ่งหลังจากชนแล้วรถคันแรกเคลื่อนที่ไปในแนวเดิมด้วยความเร็ว 0.66 m/s จงหาก) มวลของรถคันที่ สอง [0.099 kg] ข) ความเร็วของรถคันที่สอง [1.9 m/s] 7. วัตถุ A และ B มวล 2.0 kg เกิดการชนกัน โดยความเร็วก่อนการชนของ A และ B คือ V=151+30] และ V-51+20 (หน่วย m/s) หากหลังการชน A มีความเร็ว 35 จงหา ก) ความเร็วของ B หลังการชน [ 10+15 ] ข) พลังงานจลน์ที่มีการสูญเสียหรือเพิ่มขึ้นเท่าใด ในการชน [0 J] 8. ลูกโบวลิ่ง 5.5 kg 9 m/s ชนกับ pin 0.85 kg ที่ตั้งอยู่ ทำให้ pin กระเด็นไปด้วยความเร็ว 15 m/s ทำมุม 85 องศากับแนวลูกโบวลิ่งเดิม หาความเร็วสุดท้ายของลูกโบวลิ่ง g 9. เอาประทัดไปยัดใส่ของเล่น เมื่อประทัดระเบิดของเล่นแยกเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกมวล 10 g กระเด็น ไปมีความเร็ว VA --51+5j-3k m/s อีกก้อนมวล 5 g มีความเร็ว V-10 +14j-6k ก้อนสุดท้ายมวล 6 g มีความเร็วเท่าไร g 10. บนพื้นน้ำแข็งพ่อหนัก 80 kg มาด้วยความเร็ว 8 m/s กับแม่หนัก 60 kg ซึ่งมาจากอีกทิศที่ทำมุม 45 องศากับแนวที่พ่อมาด้วยความเร็ว 5 m/s ทั้ง 2 เข้ากอดลูกหนัก 30 kg ซึ่งยืนอยู่นิ่งพร้อมกัน ทั้ง 3 คนเกาะติดกันไปด้วยความเร็วเท่าไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยแบ่งความรู้มาทีค่ะ 🙏

7) วัตถุมีมวล 4 กิโลกรัม พุ่งเข้าชนสปริงด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที จงหาว่าสปริงจะหดได้มากที่สุดกี่เมตร (กำหนดให้ค่าคงที่ของสปริง เท่ากับ 100 นิวตัน/เมตร) ตอบ 8) โยนวัตถุมวล 1 กิโลกรัม ขึ้นในแนวดิ่งด้วยความเร็ว 10 เมตร/วินาที วัตถุจะขึ้นไปได้สูงสุดจากจุดโยนกี่เมตร และขณะที่วัตถุอยู่บริเวณจุดสูงสุดมีพลังงานจลน์ก็จูล (g=10 m/s) ตอบ 9) ปล่อยวัตถุทรงกลมมวลเท่ากันจำนวน 3 ลูก โดยแต่ละลูกปล่อยที่ระดับความสูงต่างกัน และจมลงไปในทราย ดังภาพ อยากทราบว่าตำแหน่งในการปล่อยของวัตถุลูกใดอยู่ที่ระดับสูงสุดและต่ำสุด ตามลำดับ ตอบ 10) จากการทดลองข้อ (9) สามารถสรุปผลการทดลองได้อย่างไร ตอบ ระดับอ้างอิง A B ทราย กระบะทราย 11) จากภาพยิงหนังสติ๊กและปืน โดยก้อนหินและลูกกระสุนมี มวลเท่ากันแต่มีความเร็วต่างกัน ระหว่างก้อนหินและลูกกระสุน วัตถุใดมีพลังงานจลน์มากกว่า และวัตถุใดทำให้เป้ายิงเกิด ความเสียหายมากกว่า ตอบ v=60 m/s V=150 m/s | เป้ายิงที่ 1 | เป้ายิงที่ 2

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

เรื่องค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี

H 2,1 แบบฝึกหัด คำสั่ง : จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. พิจารณาคาอิเล็กโทรเนกาติวิตในตารางธาตุที่กำหนดให้ Li 1.0 สรุปปัจจัยที่มีผลต่อค่าอิเล็กโทรน 1) ขนาดอะตอม (กรณีที่ธาตุมีจำนวนระดับชั้นพลังงานต่างกัน) - อะตอมขนาดเล็ก - แรงดึงดูดระหว่าง nucleus กับ 6 มีค่ามาก e เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 2 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้ดี จึงมีค่า EN สูง - อะตอมขนาดใหญ่ - แรงดึงดูดระหว่าง nucleus กับ 8 มีค่าน้อย เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 8 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้แก่ จึงมีค่า EN ตัว 2) จำนวนประจุบวกในนิวเคลียส (กรณีที่ธาตุมีจำนวนระดับชั้นพลังงานเท่ากัน) Na Me 0.9 1.2 Rb 0.8 K Ca 0.8 4.0 Cs 0.7 Be 1.5 Fr 0.7 - อะตอมของธาตุที่มีจำนวนประจุบวกในนิวเคลียส (หรือจำนวนโปรตอน ที่มาก เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 2 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้ดีกว่า ธาตุนั้นจึงมีค่า EN สูง Sc 1.3 St Y Zr 1.0 1.2 14 Ti 1.5 Ba La-Lu HT 091-12 13 Ra Ac-No 0.9 1.1-1.7 N V 1.6 Cr 1.6 Nb Mo 1.6 1.8 Ta W 1.5 1.7 Min Fe 15 1.8 Tc 1.9 Re 1.9 ******* Ru 2.2 Os 2.2 Co 1.8 Rh Pd 2.2 2.2 Ir Ni 1.8 A PL 2.2 2.2 Cu 19 Ag 1.9 Au 2.4 Zn 1.6 B C 2.0 Hg 1.9 A[ 1.5 Ga 1.6 Cd In 1.7 1.7 TI 1.8 N 2.5 3.0 Si 1.8 Ge 1.8 P 2.2 Pb 1.8 As 2.0 0 35 Bi 1.9 Sn Sb Te 1.8 1.9 2.1 Se 2.4 จงตอบคําถามต่อไปนี้ 1) จากข้อมูลด้านบน ธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาตัวมากที่สุด และธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาตัวน้อยที่สุด ตอบ............... F 4.0 S C Ar 25 3.0 Br 2.8 I 2.5 Po AL 2.0 2.2 2) นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดธาตุหมู่ 8A ส่วนใหญ่จึงไม่มีค่าอิเล็กโทรเนกาทีวี ยกเว้นธาตุจริปทอน (K) และธาตุซีนอน (Xe) ตอบ........... He Ne Kr 3.0 Xe 2.6 Rn …...…..…………

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/12