ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัย

สวัสดีค่ะช่วยทำคณิตข้อนี้ทีคะไม่เข้าใจ ผลต่างไม่อิสระ

ในการทดสอบประสิทธิภาพของยารักษาโรคความดันโลหิตชนิดหนึ่ง ผู้ศึกษาได้ ทดลองใช้ยานี้กับคนไข้จำนวน 12 คน โดยการวัดความดันโลหิตของคนไข้ก่อนและหลังการใช้ยา นี้ ผลปรากฏดังนี้ คนไข้คนที่ 1 | 2 | 3 | 4 | 5 ก่อนใช้ยา : | 120 | 124 | 130 | 118 | 140 | 128 หลังใช้ยา d₁ | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 140 135 126 130 126 127 118 132 129 135 128 131 131 127 132 125 -1-9 8 3 -1 -2 4 64 49 1 81 64 9 1 -8 -7 141 137 8-2 64 4 -3 -8 9 64 จงหาช่วงความเชื่อมั่นผลต่างระหว่างความดันโลหิตของคนไข้ก่อนและหลังการใช้ยา โดยใช้ระดับนัยสำคัญที่ 0.05 กำหนดว่าความดันโลหิตมีการแจกแจงแบบปกติ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ทั้ง2หน้านี้ตอบข้อไรบ้างคะ

12. ข้อใดมีคำที่มาจากภาษาบาลีทุกคำ f.e กีฬา นิมิต ปัจฉิม นิพพาน 13. ข้อความตอนใดมีคำยืมภาษาต่างประเทศน้อยที่สุด 2. เมื่อพูดกับบุคคลอื่นเรายกย่อง ข. ต้องเลือกใช้คำพูดที่สุภาพแสดงว่าให้เกียรติ ค. เมื่อพูดกับผู้ที่มีฐานะทางสังคมเท่า ๆ กัน ง. อาจใช้คำแสดงความเป็นกันเองได้ 14. ข้อใดมีคำที่มาจากภาษาบาลีทุกคำ อมตะ ข. ภักดี ค. พิสดาร ง. ถาวร วัตถุ มัธยม ชีวิต โอรส สตรี ธัญบุรี นิตยสาร ก. บรม เปรต ข. คณะ จักร ค. วิถี ปัทมา ส. ปฐม บงกช อนันต์ 15. ศิลาจารึก หลักที่ 1 ด้านที่ 1 มีเนื้อหากล่าวถึงเรื่องใด ก. การปกครอง ข. สภาพบ้านเมือง ค. การประดิษฐ์อักษรไทย 3. พระราชประวัติของพ่อขุนรามคำแหง 16. ข้อใดเป็นความมุ่งหมายการแต่งตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ก. เพื่อยกย่องนางนพมาศ ข. เพื่อเล่าประวัตินางนพมาศ ค. เพื่อยอพระเกียรติพระร่วงเจ้า ง. เพื่อกล่าวถึงวัฒนธรรมด้านประเพณีที่ปฏิบัติกันในสมัย ก. ลายจารึก ค. ศิลาจารึก สุโขทัย 17. ข้อใดเป็นสาเหตุให้วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้นไม่ค่อย เจริญรุ่งเรือง ก. บ้านเมืองไร้วีนักปราชญ์ ข. พระมหากษัตริย์ไม่ทรงสนับสนุน ค. มีวรรณคดีเก่าตกทอดมามากมาย 4. บ้านเมืองเกิดศึกสงครามบ่อยครั้ง 18. อักษรไทยที่พ่อขุนรามคำแหงทรงคิดประดิษฐ์เรียกว่าอะไร ข. ลายสือไท ง. จารึกไท 19. ลิลิตโองการแข่งเกี่ยวข้องกับเรื่องใด ก. พิธีธงชัยเฉลิมพล ข. พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณ ค. พิธีสวนสนามของทหาร ศ.พี 1. พิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา 20. เนื้อเรื่องของลิลิตยวนพ่ายกล่าวถึงสงครามระหว่างชาติใด ก. ไทย - พม่า ค. ล้านนา - ขอม 21. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของวรรณคดีสมัยสุโขทัย ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศตะวันตก ข. ไทย - เขมร ไทย – ล้านนา ศ. ได้ ข. เป็นวรรณคดีประยุกต์ไม่ได้มุ่งความบันเทิง ค. บรรยายสภาพบ้านเมือง วัฒนธรรมสังคม ง. มีคำไทยโบราณ บาลีสันสกฤตและเขมรปะปนอยู่มาก 22. คําใดรับอิทธิพลมาจากภาษาเขมร กบรรทม ค. กายกรรม ข. กาลเวลา ง. พรรคพวก

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ

40 40 วิทยาศาสตร์และส จงยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมหรือโรคทางพันธุกรรม 2 ชนิดที่เกิดจากความผิดปกติของยีนต่อไป 3. 1) ยืนบนออโตโซม 2) ยืนบนโครโมโซมเพศ 4. ให้ใช้ภาพโครโมโซมต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถาม O 2 A A A 0 0 AAA 88 คู่ที่ 18 คู่ที่ 21 คู่ที่ 13 คู่ที่ 5 1) ชนิดของโครโมโซมหมายเลข 0 - 0 ที่เกิดความผิดปกติ คือ 2) กลุ่มอาการหรือโรคพันธุกรรมหมายเลข 0 - • เรียงตามลำดับ ได้แก่ 3) เพศที่เกิดโรคพันธุกรรมหมายเลข 0 คือ 4) ผู้ป่วยที่มีเสียงร้องเล็กแหลมคล้ายกับเสียงแมว จะมีโครโมโซมหมายเลข 5. โครโมโซมในเซลล์ไข่ของเพศหญิงที่เป็นโรคในกลุ่มอาการดาวน์ คือ 6. ให้ใช้ข้อกำหนดของโครโมโซมต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถาม 1 4 44+ XXY 44 + XO 44 + XYY 44 + XXXY 1) ชนิดของโครโมโซมหมายเลข 0 - 0 ที่เกิดความผิดปกติ คือ 2) โครโมโซมหมายเลขใดที่เกิดโรคพันธุกรรมเฉพาะในเพศชาย 3) กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีโครโมโซมหมายเลข 4) โครโมโซมเพศที่มีลักษณะดังนี้ 1. ตรงกับโครโมโซมของหมายเลข 7. ผู้ป่วยที่มีลักษณะต่อไปนี้เกิดจากความผิดปกติของยีนหรือโครโมโซมชนิดใด 1) ปากแหว่ง เพดานโหว่ ปัญญาอ่อนอย่างแรง อายุสั้นมาก 2) ขาดโปรตีนที่ช่วยในการแข็งตัวของเลือด เมื่อเกิดบาดแผลเลือดจะออกง่ายและหยุดไหลช้า 3) ลักษณะตัวเตี้ย ที่คอมีพังผืดกางเป็นปีก เป็นหมัน 8. โครโมโซมเพศของผู้ป่วยในกลุ่มอาการเอ็กซ์วายวายซินโดรมต่างจากไคลน์เฟลเตอร์ดังนี้ 9. ผู้ป่วยที่มีอาการโลหิตจาง อ่อนเพลีย ปัสสาวะเป็นสีดำ และแพ้ถั่วปากอ้า เป็นโรคพันธุกรรมที่เรียกว่า ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของ 10. การตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซมในตัวอ่อนในครรภ์มารดา มีวิธีการดังนี้ จงเ 1

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องทำเป็นแผนผังอย่างไรคะ

ใบงานการทดลองที่ 6 กรณีศึกษาทางสรีรวิทยาคลินิก เรื่อง Circulating shock วัตถุประสงค์ 1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาการไหลเวียนเลือดในภาวะ Circulating shock ได้ 2. ระบุหลักการและแนวทางในการช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีภาวะ Circulating shock บนพื้นฐานสรีรวิทยา การไหลเวียนเลือด และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและพื้นฐานทางการพยาบาลได้ 3. สามารถสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายวิเคราะห์และเลือกใช้ข้อมูลในการอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและเขียนผังการเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาการไหลเวียนเลือดในภาวะ Circulating shock ได้ 4. ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการอธิบายและเขียนผังการเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนเลือดในภาวะ Circulating shock ได้ กรณีศึกษา ผู้ป่วยชายอายุ 31 ปี ถูกนำส่งโรงพยาบาลโดยอาสาสมัครกู้ภัย เนื่องจากประสบอุบัติเหตุขับมอเตอร์ไซด์ ชนกับรถบรรทุก มีแผลฉีกขาดขนาดใหญ่ที่ต้นขาขวา กระดูกหักทะลุออกมาภายนอก มีเลือดออกมากแบบ Active bleeding เสียเลือดออกไปประมาณ 30% ของปริมาตรเลือดทั้งหมด และมีภาวะ Circulating shock สัญญาณชีพ T 35.5'C P 120/นาที RR 22/นาที BP 80/60 mmHg หายใจตื้น และกระสับกระส่าย ซีด เหงื่อออก ผิวหนังขึ้นแต่เย็น และปัสสาวะออกน้อย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่าที่ตรวจพบ ค่าปกติ รายการ pH 7.25 7.35-7.45 Pco2 45 40 mm Hg Po2 88 90 - 100 mm Hg O, saturation 92 94 - 100 % Hct 35 40-45% แนวทางการศึกษา 1. ให้ผู้เรียนร่วมกันทบทวนบทบาทหน้าที่และกลไกการควบคุมการทำงานของระบบไหลเวียนใน ภาวะปกติ 2. อ่านกรณีศึกษาที่กำหนด จากนั้นนักศึกษาระบุ Hemodynamic parameter ที่ มีการ เปลี่ยนแปลงไปจากภาวะปกติหรือไม่ อย่างไร ตลอดจนค้นหาประเด็นที่เป็นสาเหตุที่ทำให้ Hemodynamic parameter เหล่านั้นเปลี่ยนแปลง 3. ระบุและอธิบายกลไกการควบคุมการทำงานของระบบไหลเวียนโลหิตที่เกี่ยวข้อง เพื่อตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนแปลง Hemodynamic parameter เหล่านั้นให้กลับคืนมาสู่ภาวะปกติ/หรือหากไม่ สามารถกลับคืนมาสู่ภาวะปกติได้ ตลอดจนการทำงานของระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) 4. เขียนผังแสดงลำดับของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว (Sequence of physiological events)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สุขศึกษา มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ

คำถาม ประจำหน่วยการเรียนรู้ ๑. นักเรียนคิดว่าสถานการณ์การเจ็บป่วยและการตายของคนไทยในปัจจุบันเป็นอย่างไร และมีแนวในมี ที่สูงขึ้น หรือลดลงหรือไม่ เพราะเหตุใด ๒. "สาเหตุการตายของคนไทยส่วนใหญ่เกิดมาจากโรคไม่ติดต่อ" จากข้อความนี้ นักเรียนคิดว่าเป็นผล มาจากสิ่งใด เพราะเหตุใด โรคติดต่อที่ยังคงมีความรุนแรงและยากต่อการป้องกันมากที่สุดคือโรคใด และนักเรียนมีแนวทาง การป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นกับตนเองได้อย่างไร ๓. ๔. นักเรียนมีแนวทางการป้องกันไม่ให้เกิดโรคไม่ติดต่อได้อย่างไร ถึงแม้ว่าจะเป็นโรคที่สามารถรักษา บ ให้หายขาดได้ก็ตาม ๕. หากพบว่าสมาชิกในครอบครัวมีความเสียงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง นักเรียนควรแนะนำให้ สมาชิกในครอบครัวที่มีความเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองอย่างไรจึงจะห่างไกล จากโรคดังกล่าว

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

สอบถามวิชาวิทยศาษตร์เรื่องระบบประสาทค่ะ

Keek. ตอนที่ 2 คำชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่ความสัมพันธ์โดยนำอักษรช่องขวามือมาใส่ในช่องซ้ายมือให้ถูกต้อง ก. มีรูปร่างเป็นก้อนรูปไข่ ประกอบด้วยเซลล์ประสาทจำนวนมาก ข. ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย 1. พอนส์ 2. เมดัลลา ออบลองกาตา 3. เซรีเบลลัม ค. ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย ความดันโลหิตความหิว ความอิ่ม 4. ไฮโพทาลามัส การนอนหลับ 5. เซรีบรัม ง. การถ่ายทอดสัญญาณไปยังสมองต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับกระแสประสาท 6. ทาลามัส จ. ควบคุมเกี่ยวกับการมองเห็น การได้ยิน และการสัมผัส 7. สมองส่วนกลาง ฉ. ศูนย์กลางในการประสานงานทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกา 8. สมอง ซ. ควบคุมการทำงานและกิจกรรมต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น การพูด 9. ไขสันหลัง มองเห็น การเรียนรู้ 10. ระบบประสาทส่วนกลาง ซ. ควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อให้ทำงานประสานกัน ณ. ควบคุมการทำงานของอวัยวะภายใน เช่น การหายใจ การหมุน โลหิต การไอ ญ. ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าเกี่ยวกับการหล การยิ้ม การยักคิ้ว ตอนที่ 3 คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกับความสำคัญและวิธีดูแลรักษาระบบประสาท โดยใส่เครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูก และใส่เครื่องหมาย * หน้าข้อความที่ผิด 1. ระบบประสาทของคนทำงานประสานกันระหว่างสมองและเซลล์ประสาท 2. การทานอาหารประเภททอด หรือไขมันมากๆ จะทำให้ประสาทดมกลิ่นทำงานได้ดีขึ้น 3. คนที่ทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ควรรับประทานผักและผลไม้ในปริมาณมากขึ้นทุกวัน 4. การนอนหลับเป็นการพักผ่อนสมองที่ดีที่สุด 5. การฝึกสมาธิบ่อย ๆ ทำให้สมองทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6. เราควรตรวจสุขภาพสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 7. เมื่อมีอาการผิดปกติในร่างกายควรไปพบแพทย์ทันที 8. ความเครียดไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย 9. หลีกเลี่ยงการใช้สายตากับเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ๆ 10. การออกกำลังกายสม่ำเสมอไม่ส่งผลต่อการทำงานของระบบประสาท

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ

40 3. จงยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมหรือโรคทางพันธุกรรม 2 ชนิดที่เกิดจากความผิดปกติของยืนต่อไปนี้ 1) ยืนบนออโตโซม 2) ยืนบนโครโมโซมเพศ 4. ให้ใช้ภาพโครโมโซมต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถาม คู่ที่ 18 คู่ที่ 21 คู่ที่ 13 คู่ที่ 5 1) ชนิดของโครโมโซมหมายเลข 0 - 0 ที่เกิดความผิดปกติ คือ 2) กลุ่มอาการหรือโรคพันธุกรรมหมายเลข - 0 เรียงตามลำดับ ได้แก่ 3) เพศที่เกิดโรคพันธุกรรมหมายเลข 0 - 0 คือ 4) ผู้ป่วยที่มีเลียงร้องเล็กแหลมคล้ายกับเสียงแมว จะมีโครโมโซมหมายเลข 5. โครโมโซมในเซลล์ไข่ของเพศหญิงที่เป็นโรคในกลุ่มอาการตาวน์ คือ 6. ให้ใช้ข้อกำหนดของโครโมโซมต่อไปนี้ประกอบการตอบคำถาม ปี ติ 8 44 + XXY 44 + X0 44 + XYY 44 + XXXY 1) ชนิดของโครโมโซมหมายเลข 0 - 0 ที่เกิดความผิดปกติ คือ 2) โครโมโซมหมายเลขใดที่เกิดโรคพันธุกรรมเฉพาะในเพศชาย 3) กลุ่มอาการไดลน์เฟลเดตอร์ ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีโครโมโซมหมายเลข 4) โครโมโซมเพศที่มีลักษณะดังนี้ AA ตรงกับโครโมโซมของหมายเลข 7. ผู้ป่วยที่มีลักษณะต่อไปทนี้เกิดจากความผิดปกติของยืนหรือโครโมโซมชนิดใด 1) ปากแหว่ง เพดานโหว่ ปัญญาอ่อนอย่างแรง อายุสั้นมาก 2) ขาดโปรตีนที่ช่วยในการแข็งตัวของเลือด เมื่อเกิดบาดแผลเลือดจะออกง่ายและหยุดไหลช้่ว 3) ลักษณะตัวเตี้ย ที่คอมีพังผืดกางเป็นปีก เป็นหมัน, 8. โครโมโซมเพศของผู้ป่วยในกลุ่มอาการเอ็กซ์วายวายซินโดรมต่างจากไคลน์เฟลเตอร์ังนี้ 9. ผู้ป่วยที่มีอาการโลหิตจาง อ่อนเพลีย ปัสสาวะเป็นสีดำ และแพ้ถั่วปากอ้า เป็นโรคพันธุกรรมที่เรียกว่า ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของ "0. การตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซมในตัวอ่อนในครรภ์มารดา มีวิธีการดังนี้

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมต้น

สรุปใจความสำคัญให้หน่อยนะคะ🙏

ตัวอย่างที่ ๑ การเขียนบทพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง กินจืด ยืดชีวิต สวัสดีค่ะ เพื่อนทุกคน อาหารเป็นปัจจัยสี่ของคนเรา ถ้าเราไม่กินอาหาร เราจะไม่มีแรง ไม่มีพลังพอที่จะทำ กิจกรรมต่างๆในแต่ละวันได้ ดังนั้น เราจึงต้องกินอาหาร แต่อาหารที่เรากิน ก็ต้องรู้จักเลือก เพราะ เรากิน อาหารเช่นไร เราจะเป็นเช่นนั้น เช่น ถ้าชอบกินอาหารไขมันสูง ประเภทข้าวขาหมู ข้าวหมูกรอบ แคบหมู หรือขนม เครื่องดื่ม หวานๆ มันๆ อยู่ตลอด อีกไม่นาน ก็จะอ้วนและอาจเป็นโรคไขมันสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ เป็นต้น จากรายงานของนักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ด้านโภชนาการ กระทรวงสาธารณสุข พบว่า ตั้งแต่ ปี ๒๕๕๔- ๒๕๕๓ คนไทยป่วยเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ หลอดเลือดสมอง และมะเร็ง เพิ่มขึ้นกว่า 1.6 เท่า ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการกิน นั่นเอง โดยเฉพาะกิ้นอาหารรสจัด เช่น กินเค็ม เกินไป กินหวานมากไป ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพอย่างมาก ทำให้ไตต้องทำงานหนักส่งผลให้ไตวายได้ ดังนั้น เพื่อรักษาสุขภาพของเรา การกินรสจืดจะดีมากกว่า ควรชิมก่อนปรุง ลดการกินอาหารแปรรูปต่างๆ ลดการ กินอาหารกึ่งสำเร็จรูป หรือไม่ควรใส่เครื่องปรุงจนหมดชอง เป็นต้น สุขภาพจะดี อายุจะยืนยาว ถ้าเรากิน อาหารรสจืด อาจจะอร่อยน้อยลงเล็กน้อย แต่ดีกับสุขภาพมากขึ้น นับว่าสมควรทำ หันมากินอาหารรสจิด - เพื่อยืดชีวิตกันเถอะค่ะ สุขภาพดีไม่มีขาย อยากได้ต้องสร้างเองด้วยการกินอาหารรสจืดนะคะ สวัสดีค่ะ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/6