ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไท... อ่านต่อ

ใบงานที..... อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภัสพรรณ เลาสุทแสน - สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเราได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23,38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีมลดส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งแหกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุด ราคาน้าเช้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข่าวสารที่ทันสมัย คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องการอยากทราบคำตอบของโจทย์เรื่องพริกไทย

อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภีสุพรรณ เลาสุทแสน - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ อาน เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคาน้ำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23.38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีผลผลิตส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งผลกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุดคือราคานำเข้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ไปทาน คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ จำนวน 20 รายโสผู้บริโภค ระโย 2006 207 คนในคร โลก 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? - คาคาชน ที่เกี่ยว 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ?ราคาที่ผลิต (1) ต้นตระก 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ) เทคโนโว เกมติม 28294 บริ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
อาเซียนศึกษา มัธยมต้น

ช่วยด้วยค่ะ

คําอายท้ายหน่วยการเรียนรู้ 1. การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนหมายถึงอะไร และสำคัญอย่างไร 2. การประชุมคณะกรรมการประจำอาเซียนหมายถึงอะไร และสำคัญอย่างไร 3. อาเซียนมีประเทศสมาชิกครบ 10 ประเทศในช่วงวิวัฒนาการใด 4. ปัจจุบันอาเซียนมีความสัมพันธ์กับประเทศและกลุ่มประเทศภายนอกอยู่เท่าใด และ มีความสัมพันธ์กันแบบใด 5. 6. เพราะเหตุใดอาเซียนจึงได้ประกาศ ASEAN Vision 2020 ปัจจัยใดที่มีอิทธิพลทำให้อาเซียนปรับเปลี่ยนกลไกการดำเนินงานหลายด้าน และเพราะเหตุใด 7. ASEAN Charter จัดทำขึ้นในช่วงใดของวิวัฒนาการอาเซียน 8. งบประมาณของสํานักเลขาธิการอาเซียนมาจากที่ใด 9. ปัจจุบันการดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียนเป็นอย่างไร 10. ความตกลงที่มาจากการประชุมสุดยอดอาเซียนมีลักษณะเป็นอย่างไร และสำคัญอย่างไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

รบกวนช่วยหน่อยนะคะ ส่งวันนี้แล้วค่า🥺🙏🏼🙏🏽

: ให้นักเรียนขีด / หน้าข้อความที่สัมพันธ์กับการเตรียมความพร้อม ได้ตะแนน ตะแนนเต็ม สู่ประชาคมอาเซียน และกา X ในข้อที่ไม่สัมพันธ์ 5 เรียนรู้ภาษาเพื่อนบ้านที่ตนเองชอบเพื่อจะได้สื่อสารกันได้เข้าใจ เช่น ภาษา มาเลย์ ภาษาเขมร เป็นต้น 2 ร่วมการประท้วงที่หน้าสถานทูตเพื่อแสดงความไม่เห็นด้วยกับการเลือกตั้งของ ประเทศเพื่อนบ้าน 3. นำเยาวชนเข้าค่ายปลูกฝังเรื่องการเคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น 4. รณรงค์รักษาความสะอาดของชุมชนและป้องกันภัยจากสิ่งเสพติด 5. ทำงานหนักเพื่อเก็บเงินไปซื้อโทรศัพท์มือถือรุ่นใหม่มาใช้ เพื่อแสดงให้ผู้อื่น เห็นว่าใช้เทคโนโลยีเป็น 6. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีโดยให้ข้อมูลแก่เจ้าหน้าที่บ้านเมือง เมื่อพบเห็นเหตุการณ์ ที่ผิดปกติ ฉบับ 7. ทำลายพื้นที่ป่าเพื่อเพาะปลูกพืชการค้าที่ตลาดอาเซียนต้องการ 8. สนับสนุนให้บุตรเรียนภาษาจีนเพราะจีนเป็นคู่ค้าสำคัญของอาเซียน 9. เดินทางไปเที่ยวประเทศพม่าเพื่อจะได้ทราบถึงชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน และ เรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่นของชาวพม่า 10. ส่งเสริมให้เด็กไทยรู้จักการคิด วิเคราะห์ มีความเป็นเหตุเป็นผล เฉล เพื่อประหยัดต้นทนการผลิต

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
อาเซียนศึกษา มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ🥺

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเตรียมพลเมืองไทยเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เรื่องที่ 2 ประโยชน์ของไทยจากการเป็นประชาคมอาเซียน ใบงานที่ 3.2 ประโยชน์ของไทยจากการเป็นประชาคมอาเซียน คำชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์ของไทยจากการเป็นประชาคมอาเซียน ที่มีผลต่อการพัฒนาประเทศ ประโยชน์ของไทยจากการ ผลดีต่อการพัฒนาประเทศ เป็นประชาคมอาเซียน 1. การขยายตัวทาง เศรษฐกิจ 2. การลดกำแพงภาษี ระหว่างประเทศสมาชิก 3. การขยายตัวของสินค้า ส่งออก 4. การเพิ่มอำนาจต่อรอง ในระดับนานาชาติ 5. การสร้างความร่วมมือ เพื่อสร้างความมั่นคง ในภูมิภาค 199 อาเซียนศึกษา ม.3

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สังคมศึกษา มัธยมต้น

ใครไม่ช่วย=รักนายก

ให้นักเรียนวิเคราะห์บทความ แล้วสรุปความรู้ลงในใบงาน การเป็นประชาคมอาเซียนทำให้สมาชิกทั้ง 10 ประเทศของอาเซียนมีความใกล้ชิดทางวัฒนธรรม และการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมมากขึ้น และในอนาคตอาจเกิดวัฒนธรรมอาเซียนที่มาจากการผสมผสาน ทำนองเดียวกับวัฒนธรรมอเมริกันที่มาจากหลายๆ ชาติรวมกันเป็นสหรัฐอเมริกา ดังนั้น ความหลากหลาย ทางวัฒนธรรมจึงไม่ใช่ปัญหาแต่ขึ้นอยู่กับว่าเราจะใช้ปัญญานำความหลากหลายมาใช้ประโยชน์อย่างไร มากกว่า 1. บทความนี้กล่าวถึงเรื่องใด 2. ผู้เขียนมีเจตนาอย่างไร 3. นักเรียนคิดว่าสิ่งใดเป็นตัวกำหนดในการอยู่ร่วมกัน 4. วัฒนธรรมมีส่วนในการก่อให้เกิดความร่วมมือและความขัดแย้งอย่างไร 5. นักเรียนจะมีวิธีการปรับตัวในการเป็นประชาคมอาเซชียนอย่างไร 6. ความหลากหลายทางวัฒนธรรมเป็นเช่นไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/7