ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ทุกคนเราทำมธถูกก

1. Ga กิจกรรมที่ 2 : สนุกคิดหาค่าตอบ 27 คำชี้แจง : ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ และตอบว่าขอใดเป็นนิยามเชิงปฏิบัติการหรือนิยามทั่วไป แต่ละโมเลกุลประกอบด้วยธาตุออกซิเจน 2 อะตอม d do 2. ออกซิเจนเป็นแก๊สชนิดหนึ่งที่ช่วยให้เกิดการเผาไหม้ ถ้าเรานํากานธูปที่ติดไฟเกือบจะมอดแล้ว แทยอ กระบอกที่มีแก๊สออกซิเจนอยู่ ก้านธูปจะลุกเป็นเปลวไฟขึ้นมา 3. ตัวนำไฟฟ้า คือ วัตถุที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ง่าย เพราะมีค่าความต้านทานไฟฟ้าต่ำ เมื่อนำมาเป็น ตัวนำไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าก็จะทำงานได้ตามปกติ วัตถุที่นำไฟฟ้าได้ดีส่วนมากจะเป็นโลหะ เช่น เงิน ทองแดง ทอง อลูมิเนียม แพลทินัม เป็นต้น 4. นกเป็นสัตว์ชนิดหนึ่ง มี 2 ขา บินได้ สืบพันธุ์โดยการวางไข่ 5. วัตต์ เป็นหน่วยวัดค่ากำลังไฟฟ้า 6. ความหนาแน่น ผลลัพธ์ที่ได้จากการหาค่าอัตราส่วนระหว่างมวลของวัตถุ ซึ่งมีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับปริมาตร ซึ่งมีหน่วยเป็น ลูกบาศก์เมตร เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดการลอยหรือจมของวัตถุ โดยวัตถุที่มีความหนาแน่นน้อย มีแนวโน้มจะลอยอยู่บนวัตถุที่มีความหนาแน่นมากกว่า คำชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนนิยามเชิงปฏิบัติการของคำที่กำหนด 1. นิยามเชิงปฏิบัติคำว่า “ก้านไม้ 2. นิยามเชิงปฏิบัติคำว่า “แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 3. นิยามเชิงปฏิบัติคำว่า “วัชพืช”

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่า เป็นเรื่องพันธุกรรม (วิชาชีวะ)🥹

แบบฝึกหัดพันธุกรรม 1. ในการผสมพันธุ์ข้าวโพดเมล็ดสีเหลืองกับข้าวโพดเมล็ดสีขาว ปรากฏว่าได้รุ่นลูกที่มีเมล็ดสีเหลืองทั้งหมด ต่อมานำต้นข้าวโพดรุ่นลูกนี้ผสมกันเอง พบว่าในรุ่นต่อมา บางส่วนเป็นข้าวโพดเมล็ดสีเหลือง บางส่วนเป็น ข้าวโพดเมล็ดสีขาว แสดงว่าลักษณะใดเป็นลักษณะเด่นของข้าวโพดพันธุ์นี้ - 2. การผสมพันธุ์ถั่วต้นสูงที่เป็นเฮตเตอโรไซกัส กับถั่วต้นเตี้ย (กำหนด T = สูง t = เตี้ย) ลูกที่เกิดมาจะมีจีโนไทป์ (Genotype) กี่แบบ อย่างไรบ้าง 3. ถ้านำต้นถั่วฝักสีเขียวที่เป็นพันธุ์แท้ ผสมกับต้นถั่วฝักสีเหลือง (กำหนดให้ G = ผักสีเขียว g = ฝักสีเหลือง) จะได้ลูกที่มีฟีโนไทป์ (Phenotype) แบบ อย่างไรบ้าง 4. สิ่งมีชีวิตที่มีจีโนไทป์ AaBBCC จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปแบบจีโนไทป์แตกต่างกันได้กี่แบบ อย่างไรบ้าง 5. ลักษณะดอกสีม่วง (A) และเมล็ดกลม (R) เป็นลักษณะเด่น ลักษณะดอกสีขาว (a) เมล็ดขรุขระ (1) เป็น ลักษณะด้อย เมื่อผสม AaRR X AaRr แล้วได้ลูกทั้งหมด 320 ต้น จะมีลูกพันธุ์ทางจำนวนเท่าไร 6. เด็กบางคนเกิดมาพร้อมกับลักษณะบางอย่างที่ถูกควบคุมโดยยีนด้อย เช่น ผมตรง สายตาสั้น เป็นต้น ทั้งที่ พ่อและแม่ไม่ปรากฏลักษณะเช่นนั้น จงอธิบายว่าเป็นเพราะเหตุใด 7. เด่นชัยเป็นคนที่มีลักยิ้ม ซึ่งเป็นลักษณะเด่น แต่พ่อของเด่นชัยไม่มีลักยิ้ม โอกาสที่ลูกสาวของเด่นชัยจะมีลักยิ้ม คิดเป็นร้อยละเท่าไร และภรรยาของเด่นชัยก็ไม่มีลักยิ้ม 8. แม่มีเลือดหมู่ 9 พ่อมีเลือดหมู่ AB ลูกของพ่อแม่คู่นี้จะมีหมู่เลือดใดได้บ้าง 9. ผู้หญิงคนหนึ่งแต่งงานสองครั้ง สามีคนแรกของเธอมีเลือดหมู่ A และลูกจากการแต่งงานครั้งแรกมีเลือดหมู่ - ส่วนสามีคนที่สองมีเลือดหมู่ B และลูกจากการแต่งงานครั้งที่สองมีเลือดหมู่ AB หมู่เลือดของผู้หญิงคน นี้คือหมูโด 10. โรคตาบอดสี (Color Blindness) เป็นความผิดปกติทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมโดยยีนด้อยบนโครโมโซม X ในครอบครัวหนึ่ง พ่อตาบอดสี แม่ตาปกติ ลูกชายคนแรกตาบอดสี ถ้าลูกคนต่อไปเป็นผู้หญิง โอกาสที่ลูกสาว จะตาบอดสีคิดเป็นร้อยละเท่าไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สุขศึกษา มัธยมปลาย

#ช่วยหน่อยค่ะ ต้องส่งวันจันทร์ที่จะถึงนี้ค่ะ

คำชี้แจง ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย X หน้าข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดเป็นอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาท 1. สมองและไขสันหลัง 2. สมอง ไขสันหลัง และเซลล์ประสาท 3. สมองและเส้นประสาท 4. สมอง 2. ระบบประสาทของมนุษย์แบ่งออกเป็นส่วน 1. 1 ส่วน คือ ระบบประสาทส่วนกลาง 2. 2 ส่วนคือ ระบบประสาทสมองและไขสันหลัง 3. 2 ส่วนคือ ระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลาย 4. 3 ส่วนคือ ระบบประสาทส่วนกลาง สมองและ ไขสันหลัง 3. สมองส่วนหน้าประกอบด้วยสมองส่วนใดบ้าง 1. ซีรีบรัม ทาลามัส ไฮโพทาลามัส 2. ซีรีบรัม ซีรีเบลลัม พอนส์ 3. ซีรีบรัม ซีรีเบลลัม ไฮโพทาลามัส 4. ซีรีบรัม ทาลามัส ซีรีเบลลัม 4. สมองส่วนใดทำหน้าที่ควบคุมด้านความคิด ความจำ 1. พอนส์ 2. ทาลามัส 3. เซรีบรัม 4. ไฮโพทาลามัส 5. ส่วนใดในอวัยวะสืบพันธุ์เพศชายที่ทำหน้าที่ในการ ผลิตตัวอสุจิ 1. อัณฑะ 2. ถุงเก็บตัวอสุจิ 3. ท่อนำตัวอสุจิ 4. กระเพาะปัสสาวะ 6. ฮอร์โมนเพศชาย มีชื่อเรียกว่าอะไร 1. เทสทาสเซอโรน 2. เทสทอสเทอโรน 3. เอสโทรเจน 4. โพรเจสเทอโรน 7. ส่วนใดในอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิงที่ทำหน้าที่ในการ ผลิตไข่ 1. รังไข่ 2. ท่อนําไข่ 3. มดลูก 4. ช่องคลอด 8. ถ้าเพื่อนทะเลาะวิวาทกันแล้วนักเรียนอยู่ในเหตุการณ์ นั้นควรทําอย่างไร 1. พูดให้เพื่อนปรับความเข้าใจกัน 2. เดินเลี่ยงออกไปโดยไม่พูดอะไร 3. พูดยุยงให้เพื่อนทะเลาะกันยิ่งขึ้น 4. พูดตักเตือนเพื่อน 9. ถ้านักเรียนเป็นหัวหน้างานกลุ่มและมีความคิดเห็นไม่ ตรงกับเพื่อน ควรปฏิบัติอย่างไร 1. ทำตามเพื่อนที่เรียนเก่งที่สุดในกลุ่ม 2. ทำตามเหตุผลที่ดีของคนในกลุ่ม 3. ทําตามใจตนเอง 4. ทำตามเพื่อนที่เราสนิท 10. ข้อใดเป็นวิธีการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง 1. เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร 2. ตาต่อตาฟันต่อฟัน 3. ขิงก็ราข่าก็แรง 4. แรงมาแรงไป คำถามข้อ 11 - 20 อยู่ในหน้ากระดาษคำตอบ (นางสาวสุภัทรธิดา ปักษา) ผู้ออกข้อสอบ (นางสาวสุภัทรธิดา ปักษา) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

คำตอบอะไรบ้างหรอค่ะ ขอบคุณค่ะ

3. ให้นักเรียนพิจารณาแผนผังการจำแนกสิ่งมีชีวิตในอาณาโทรทิสดา แล้วใช้ข้อความในตารางที่กำหนดให้ต่อไปนี้ตอบคำถาม อาณาจักรโพรทิสต์ เช่น กลุ่มที่มีนิวเคลียสอะไรโบ โซม แต่ยังไม่มีออร์แกเนลล์ อื่นๆ ได้แก่ เช่น แบ่งเป็น ใช้แฟลช กลุ่มที่มีช่องว่าง กลุ่มที่เซลล์สืบพันธุ์มี ในการเคลื่อนที ได้เยื่อหุ้มเซลล์ แฟลกเจลลาที่มีขนและ เช่น ได้แก่ เช่น ได้แก่ เช่น ได้แก่ กลม แอลวีโอลาตา ไดอะตอม สาหร่ายสีแดง Giardia sp. สาหร่ายสีน้ำตาล ทริปพาโนโซมา สไปโร รา ไตรโคโมแนส สตราโนไพล์ สาหร่ายสีเขียว ไดโพลโมนาดา ไดโนแฟลเจลเลต กราซิลาเรีย คาโรไฟต์ กลุ่มที่มีสา ไฟโค ทริน เช่น ได้แก่ VE LIVEWORKSHEETS กลุ่มที่มีคลอโรฟิลล์ และ ปี พอ ไฟรา คลอเรลลา ใน โทชัว พาราปาซาลา เช่น ได้แก่ ไฟซารัม เอ คอมเพล ซิลิเกต เคโมนิทส ยูกโบว กลุ่มที่มีช่วงชีวิตมีการ เคลื่อนที่กล้ายจะมินา เช่น ได้แก่ ไตรโคนมฟา BLIVEWORKSHEETS

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
PromotionBanner
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ ต้องส่งพน.แล้ว🙏🙏

nit Questions 1 DA 1. การงอกขาใหม่ของซาลาแมนเดอร์จัดเป็นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศหรือไม่ อย่างไร 2. เพราะเหตุใดไส้เดือนดินจึงไม่สามารถผสมพันธุ์ในตัวเองได้ ถึงแม้ว่าจะมี 2 เพศ ในตัวเดียวกัน 3. จงอธิบายกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศชายและเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง ( 4. พิจารณาภาพที่ 1.34 แล้วตอบคําถามต่อไปนี้ คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ ก) รูปร่างของสเปิร์มเหมาะสมต่อการทำหน้าที่ ข) อะโครโซมที่ส่วนหัวของสเปิร์มคืออะไร และมี S 4 ภาพที่ 1.34 สเปิร์ม ที่มา : คลังภาพ อจท. 5. พิจารณาภาพที่ 1.35 แล้วตอบคำถามต่อไปนี้ อย่างไร ความสําคัญอย่างไร 4 ภาพที่ 1.35 การเปลี่ยนแปลง ของเซลล์ไปในแต่ละรอบเดือน ที่มา : คลังภาพ อจท. ก) ลูทิไนซึ่งฮอร์โมนมีผลต่อการเกิดกระบวนการหมายเลขใด อย่างไร ข) หมายเลข 1 และหมายเลข คือโครงสร้างใด มีลักษณะแตกต่างกันอย่างไร ค) หมายเลข 2 คือโครงสร้างใด และมีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละรอบเดือนอย่างไร การสืบพันธุ์และ 33 การเจริญเติบโตของสัตว์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

สอบถามวิชาชีวะ

แบบฝึกหัดเรื่องลักษณะทางพันธุกรรม คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ต่อไปนี้ 1. ลักษณะทางพันธุกรรม (genetic character) คือ 2. นักวิทยาศาสตร์ท่านใดเป็นคนค้นพบกฎการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 3. หน่วยพันธุกรรมที่ควบคุมลักษณะต่าง ๆ จากพ่อแม่โดยผ่านทางเซลล์สืบพันธุ์ไปยังลูกหลานอยู่เป็นคู่บน โครโมโซม เรียกว่า 4. ลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถปรากฏได้ทุกรุ่น เรียกว่า 5. เมนเดลเริ่มต้นศึกษาพันธุศาสตร์โดยใช้พืชชนิดใดในการทดลอง คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ต่อไปนี้ 1. ให้นักเรียนยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมของนักเรียนที่ได้รับการถ่ายทอดมาจาก พ่อ และแม่ ลักษณะที่เหมือนพ่อ.. ลักษณะที่เหมือนแม่ 2. ลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตสามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้อย่างไร ?

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยย​

มีจีโนไทป์แบบใด 4. จงเขียนพันธุประวัติ (pedigree) ของครอบครัวนี้ พร้อมระบุสัญลักษณ์ที่ใช้ให้ชัดเจน "ชายคนหนึ่งซึ่งมีแม่เป็นโรคตาบอดสีแต่งงานกับหญิงที่เป็นโรคตาบอดสี มีลูก 2 คน - คนแรกเป็นผู้หญิงไปแต่งงานกับผู้ชายตาปกติ มีลูกหนึ่งคนเป็นผู้หญิงตาปกติและอีกคนเป็นผู้ชาย - คนที่สองเป็นผู้ชายแต่งงานกับผู้หญิงตาปกติ มีลูกหนึ่งคนเป็นผู้ชายและอีกคนเป็นผู้หญิงที่เป็นโรคตาบอดสี 5. พ่อแม่คู่หนึ่งไม่เป็นโรคฮีโมฟีเลียมีลูกสาวและลูกชายที่ไม่เป็นโรคเช่นกัน ต่อมาลูกสาวแต่งงานกับชายที่ไม่ เป็นโรคได้ลูกที่ไม่เป็นโรคและเป็นโรคอย่างละหนึ่งคน จงหาว่า 5.1 จีโนไทป์ของพ่อแม่คู่นี้ 5.2 ลูกของลูกสาวที่เป็นโรคคือลูกชายหรือลูกสาว และมีจีโนไทป์อย่างไร 6. หญิงปกติคนหนึ่งมีหมู่เลือด O และมีพ่อเป็นโรค sickle cell anemia แต่งงานกับชายที่มีหมู่เลือด AB และ เป็นโรค sickle cell anemia จงหาโอกาสของลูกที่มีหมู่เลือด A และเป็นโรค sickle cell anemia 7. หญิงศีรษะไม่ล้านที่มีแม่ศีรษะล้านแต่งงานกับชายศีรษะล้านที่มีพ่อศีรษะไม่ล้าน จงหาร้อยละของลูกชาย และร้อยละของลูกสาวที่มีศีรษะล้าน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มหาวิทยาลัย

ทำอนุทิน เรื่อง ภาษากับการสื่อสาร ใครพอจะมีแบบไหมค่ะ

แl 21:18ง เสร็จสิ้น หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสา.. Q หน่วยที่ ๑ กาษากับการสื่อสาร ภา อาจารย์ชลธิชา นำนา - - คำถาม : ภาษาเกิดขึ้นเอง เช่นเดียวกับการเดิน วิ่ง ร้องไให้ หัวเราะ ใช่หรือไม่ ตอบ: ไม่ใช่ เพราะภาษาของมนุษย์ไม่ได้เกิดจากสัญชาตญาณ แต่เกิดจากการเรียนรู้ คำถาม : ภาษาถ่ายทอดทางพันธุกรรม ใช่หรือไม่ T แทน แอลลีลของมนุษย์ที่มีผมหยักศก t แทน แอลลีลของมนุษย์ที่มีผมตรง รุ่นพ่อแม่ + T เซลล์สืบพันธุ์ + รุ่นลูก * Tะ ตอบ: ไม่ใช่ ภาษาไม่สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ แต่การพูดชัด หรือทักษะการใช้ภาษาที่ดีเกิดจากการเรียนรู้และฝึกฝน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะ ขอบคุณด้วยนะคะ

แl TRUE-Hจ 16:44 @ 36% X 1.2 โรคท. หน่วยที่ 1 พันธุกรรมและวิวัฒนาการ 1.2 โรคทาลัสซีเมียและผิวเผือก จุดประสงค์ อธิบายหลักการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามหลักพันธุศาสตร์เมนเตล คำชี้แจง แสดงวิธีคิดและตอบคำถามให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. ถ้าพ่อและแม่ เป็นพาหะของโรคทาลัสซีเมียทั้งคู่ จงหาโอกาสที่จะมีลูกเป็นโรคทาลัสซีเมีย (กำหนดให้ T แทนแอลลีล ควบคุมลักษณะไม่เป็นโรค และ t แทนแอลลีล ควบคุมลักษณะเป็นโรคทาลัสซีเมีย ) แม่ พ่อ Genotype phenotype เซลล์สืบพันธุ์ genotype ลูก phenotype ลูก - ลูกจะไม่เป็นโรคทาลัสซีเมียเมื่อได้รับ แอลลีล - ลูกจะเป็นโรคทาลัสซีเมียเมื่อได้รับ แอลลีล ซึ่งมีโอกาสที่ไม่เป็นโรค จากพ่อและแม่ ซึ่งมีโอกาสเป็นโรค มีคนกล่าวว่า "ถ้าลูกคนแรกของสามีภรรยาคู่นี้เป็นโรคทาลัสซีเมีแล้ว ลูกคนต่อไปจะไม่มีโอกาสเป็นโรคอีก นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่เพราะเหตุใด 2. ลักษณะเผือกของคน ควบคุมด้วยแอลลีลด้อย ถ้าหญิงที่มีลักษณะเผือกแต่งงานกับซายที่ไม่มีลักษณะเผือก จะมีโอกาสที่ลูกมีลักษณะเผือก หรือไม่ 3. นายพลเป็นโรคทาลัสซีเมีย คบหากับ น.ส. เต้ย ที่ไม่เป็นโรคทาลัสซีเมีย แต่แม่ของ น.ส.เต้ยเป็นโรคทาลัสซีเมีย ถ้าทั้งคู่แต่งงานกัน จะมีโอกาสที่ลูกไม่เป็นโรคทาลัสซีเมีย เท่าใด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/8