ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

งงค่ะหาเท่าไหร่ก็ไม่เจอ ขอด่วนๆเลยนะคะ ส่งวันพน.(25/05/65) หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ม.2

SUTASOL Pre-Test แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre - Test) ได้ คะแนน ชอ นามสกุล เลขที่ ชั้น คะแนนเต็ม 10 คะแนน ให้ระบายคำตอบที่ถูกต้องลงในวงกลมตัวเลือกให้เต็มวง (ห้ามระบายนอกวง) 1. ข้อใดเป็นวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบบการประเมินภายนอก (1) การวิเคราะห์เนื้อหาที่บันทึก 2) ข้อมูลที่บันทึกว่าเป็นกลางหรือไม่ 3) การนำเสนอข้อมูลมีการบิดเบือนหรือไม่ (4) ความน่าเชื่อถือของบุคคลผู้บันทึกเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 2. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดเป็นหลักฐานขั้นปฐมภูมิทั้งหมด 1 พงศาวดาร ศิลาจารึก (2) จดหมายเหตุ อัตชีวประวัติ 3) โบราณวัตถุ ตำราประวัติศาสตร์ (4) โบราณคดี วรรณคดี 3. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดไม่ใช่หลักฐานขั้นทุติยภูมิ วารสาร 2) กฎหมายตราสามดวง 3) หนังสือพิมพ์ (4) ภาษาศาสตร์ 4. ลักษณะของนักประวัติศาสตร์ที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร (1) มีการทดลองศึกษาเพียงครั้งเดียว (2) มีความละเอียดถี่ถ้วน ช่างสังเกต (3) ใช้สำนวนการบันทึกแบบโวหาร (4) ผลสรุปที่ได้จากการค้นคว้าถือว่าเป็นความจริงที่ใครโต้แย้งไม่ได้ 5. ข้อใดเป็นวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบบการประเมินภายใน (1) ประสบการณ์ของผู้เขียน (2) ประวัติและผลงานของผู้บันทึก (3) ความถูกต้องของข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิงชัดเจน 4) ความเป็นนักประวัติศาสตร์ที่มีขั้นตอนการบันทึกข้อมูลที่เป็นกลาง nomin

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ช่วยทำหน่อยไม่อยากติดศูนย์จริงๆ 🙏🏻🙏🏻🙏🏻🙏🏻🙏🏻 ขอร้องล่ะนะ

.@. กลอนบทละคร ๒. กลอบเพลงยาว ๑. กลอนนิราค .๕- กลอนตอกสร้อย ๑๕ ข้อใดเป็นจุตมุ่งหมายในการแต่งอิศรญาณภาษิต ปร ๑. เพื่อใช้เป็นข้อคิดเดือนใจในการประพฤติปฏิบัติตนของคนในสังคม ๒. เพื่อประชดประชันบุคคลที่เคยว่ากล่าวให้ร้ายผู้แต่ง ๓ เพื่อบันทึกเหตุการณ์บ้านเมืองของประเทศไทยในอดีต ๕ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการควบคุมความประพฤติของคนไทยโนอดีต. | 9เการบญาทจต. ๑. พรรณนาโวหาร และเทศนาโวหาร .๒. บรรยายโวหาร และพรรณนาโวหาร ๓. เทศนาโวหาร และอุปมาโวหาร .๕. สาธกโวหาร และอุปมาโวหาร ๑๕. ข้อใดสอนให้ทนลําบาก ให้หมั่นขวนขวายหาความรู้ ๑. ต้องว่องไวในทํานองคล่องท่าทาง .ตบหัวผางเดียวม้วนจึงควรล้อ. ๒. เอาหลังตากแดดเป็นนิจคิดคํานวณ. รู้ถี่ถ้วนจึงสบายเมื่อปลายมือ ๓. เห็นเต็มตาแล้วอย่าอยากทําปากบอน ตรองเสียก่อนจึงค่อยทํากรรมทั้งมวล ๕ สิบดีก็ไม่ถึงกับกึ่งพาล เป็นขายชาญอย่าเพ่อคาตประมาทขาย ใจของเราไม่สอนใจใครจะสอน” สุภาษิตบทนี้ สอนอะไร ๒๐. “เกิดเป็นคนเชิงดูให้รูเท่า ๑. สอนให้รูเท่าทันเส่ห์เหลี่ยมของคนอื่น ,, สอนให้มีวิจารณญาณในการตัดสินคน สอนให้เข้าวัดเข้าวารับพระธรรมเทศนามาสอนใจตนเอง สอนให้พิจารณาข้อบกพร่องของตนเอง เพื่อจะได้ปรับปรุงแก้ไข ๒. ๕ น้้าตาลย้อยมากเมื่อไรได้หนักหนา. ส่องดูหน้าเสียทีหนึ่งแล้วจึงนอน” อิศรญาณภาษิต : หม่อมเจ้าอิศรญาณ “อย่าดูถูกบุญกรรมว่าทําน้อย อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา คําประพันธ์ข้างต้นใช้สํานวนในข้อใดแทนคํากล่าวนีได้ ๑. เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน ๒. นอนหลับไม่รู้ นอนคู้ไม่เห็น ๓. นอนสูงนอนคว่า นอนดํานอนหงาย ๕ . รู้ไว้ไช่ว่า ใส่บําแบกหาม

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0