ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

มีใครเคยทำUnit Questions 2 เคมีม.5เทอม1 นี้ไหมคะ มีใครพอทำได้บ้าง🤔

Unit Question 2 แสมุด คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. กำหนดปฏิกิริยาให้ ดังนี้ A + 38 - 5C + 4D ถ้านำ A 1 โมล มาทำปฏิกิริยากับ B 5 โมล พบว่า เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที มีสาร C เกิดขึ้น 4 โมล อัตราการสลายตัวเฉลี่ยของสาร B ในช่วง 0-10 วินาที มีค่ากี่โมลต่อวินาที นำโลหะสังกะสี 1.3 กรัม มาทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.5 โมลาร์ จำนวน 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ในช่วงนาทีแรก มีอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเท่ากับ 5.6 ลูกบาศก์เซนติเมตร/นาที ที่ STP อัตราการลดลงของสารละลายกรดไฮโดรคลอริกจะมีค่าเท่ากับ กีโมลาร์/นาที (กำหนดให้ มวลอะตอมของ Zn = 65) 2. เมื่อนำแมกนีเซียมจำนวน 7.2 กรัม มาทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 3 โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร จำนวน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร เมื่อเวลาผ่านไป 1 นาที ปฏิกิริยา สิ้นสุดลงพอดี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีค่าเท่ากับกี่โมล/วินาที 3. Sh SL 4. จากการศึกษากลไกของปฏิกิริยา 2NO, (8) + F, (8) 2NO.F (8) มีกลไก 2 ขั้นตอน ดังนี้ NO (8) + F, (8) NO.F (g) + F (g) : เกิดช้า F (g) + NO (8) NO.F (g) ; เกิดเร็ว กฎอัตราของปฏิกิริยานี้เป็นอย่างไร 5. แก๊ส NO, สลายตัว ดังสมการ 2NO, (8) - 2NO (g) + 0, (8) ถ้าอัตราการสลายตัวของแก๊ส NO, มีค่าเท่ากับ 4.4 x 10 โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร-วินาที อัตราการเกิดแก๊ส 0, จะมีค่าเท่ากับกี่โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร-วินาที เมื่อนำแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) มาทำปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีน (Cl,.) เกิดเป็นแก๊ส ไนโตรซิลคลอไรด์ (NOCI) เพิ่มขึ้นด้วยอัตรา 0.045 โมล/ลูกบาศก์็เดซิเมตร-วินาที อัตราการลดลง 6. ของแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ ณ ช่วงเวลาเดียวกันมีค่าเท่าใด อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี | 87

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ เราไม่เข้าใจ

ใบงาน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงขีดเส้นใต้คำที่อยู่ในวงเล็บที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้มีความถูกต้อง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุต่าง ๆ ระหว่างอโลหะกับ (โลหะ/อโลหะ) โดย เกิดการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ ๆ เมื่ออะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน จะทำให้อะตอมมีความ (เสถียร/อิสระ) มากขึ้น การที่อะตอมจะมี มีลักษณะดังกล่าวได้ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน/อิเล็กตรอน) ต้องมีค่า เท่ากับ 8 เหมือน (ธาตุแฮโลเจน/แก๊สเฉื่อย) โดยการรวมกันเป็นโมเลกุลของธาตุ อะตอมของธาตุจะเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันทำให้เกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง และเกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนอะตอมหนึ่งกับโปรตอนในนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง ซึ่ง เมื่ออะตอมทั้งสองเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันมีระยะห่างระหว่างนิวเคลียสมีความเหมาะสมในการเกิดพันธะ พบว่า แรงดึงดูดมีค่าเท่ากับแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของอะตอมมีค่า (ลดลง/เพิ่มขึ้น) 2. พันธะโคเวเลนต์ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ 3. จงเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ไนโตรเจนไตรคลอไรต์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ สอบถามผู้รู้ค่ะ

ใบงาน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงขีดเส้นใต้คำที่อยู่ในวงเล็บที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้มีความถูกต้อง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุต่าง ๆ ระหว่างอโลหะกับ (โลหะ/อโลหะ) โดย เกิดการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ ๆ เมื่ออะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน จะทำให้อะตอมมีความ (เสถียร/อิสระ) มากขึ้น การที่อะตอมจะมี มีลักษณะดังกล่าวได้ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน/อิเล็กตรอน) ต้องมีค่า เท่ากับ 8 เหมือน (ธาตุแฮโลเจน/แก๊สเฉื่อย) โดยการรวมกันเป็นโมเลกุลของธาตุ อะตอมของธาตุจะเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันทำให้เกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง และเกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนอะตอมหนึ่งกับโปรตอนในนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง ซึ่ง เมื่ออะตอมทั้งสองเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันมีระยะห่างระหว่างนิวเคลียสมีความเหมาะสมในการเกิดพันธะ พบว่า แรงดึงดูดมีค่าเท่ากับแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของอะตอมมีค่า (ลดลง/เพิ่มขึ้น) 2. พันธะโคเวเลนต์ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ 3. จงเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ไนโตรเจนไตรคลอไรต์

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
PromotionBanner
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ เราไม่เข้าใจ

2. ให้นักเรียนศึกษาตารางสารมลพิษ แหล่งกำเนิด และผลกระทบในหนังสือเรียน พร้อมเติมข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง สารมลพิษ แหล่งกำเนิด ผลกระทบ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ - การเผาไหม้เชื้อเพลิงใน เครื่องยนต์ การเผาขยะ - ไฟป่า แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ระคายเคืองตา ผิวหนัง และหาก สูดดมเข้าไปมาก อาจทำให้ระบบ การหายใจผิดปกติ และเป็นสาเหตุ ของการเกิดฝนกรด ระคายเคืองต่อระบบทางเดิน - การเผาไหม้เชื้อเพลิงใน เครื่องยนต์ หายใจ และเป็นสาเหตุของการเกิด ฝนกรด - การเผาไหม้สารอินทรีย์ในเตาเผา - ไฟป่า - การทำปฏิกิริยาเคมีของ สารอินทรีย์ระเหยง่าย กับ ออกไซด์ของไนโตรเจนในอากาศ หากสะสมในปริมาณมาก ระบบ ประสาทจะถูกทำลาย ผู้ป่วยจะ อ่อนเพลีย ซึมเศร้า มือเท้าไม่มี เรี่ยวแรง ตาพร่ามัว สูญเสียการได้ ยิน พิการ และรุนแรงถึงขั้น เสียชีวิต ตะกั่ว ทำลายระบบประสาท มีผลต่อ พัฒนาการทางสมองของทารก เป็นสาเหตุของโรคโลหิตจาง และ โรคไต ฝุ่นละออง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ เราไม่เข้าใจ สอบถามผู้รู้ค่ะ

2. ให้นักเรียนศึกษาตารางสารมลพิษ แหล่งกำเนิด และผลกระทบในหนังสือเรียน พร้อมเติมข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง สารมลพิษ แหล่งกำเนิด ผลกระทบ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ - การเผาไหม้เชื้อเพลิงใน เครื่องยนต์ การเผาขยะ - ไฟป่า แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ระคายเคืองตา ผิวหนัง และหาก สูดดมเข้าไปมาก อาจทำให้ระบบ การหายใจผิดปกติ และเป็นสาเหตุ ของการเกิดฝนกรด ระคายเคืองต่อระบบทางเดิน - การเผาไหม้เชื้อเพลิงใน เครื่องยนต์ หายใจ และเป็นสาเหตุของการเกิด ฝนกรด - การเผาไหม้สารอินทรีย์ในเตาเผา - ไฟป่า - การทำปฏิกิริยาเคมีของ สารอินทรีย์ระเหยง่าย กับ ออกไซด์ของไนโตรเจนในอากาศ หากสะสมในปริมาณมาก ระบบ ประสาทจะถูกทำลาย ผู้ป่วยจะ อ่อนเพลีย ซึมเศร้า มือเท้าไม่มี เรี่ยวแรง ตาพร่ามัว สูญเสียการได้ ยิน พิการ และรุนแรงถึงขั้น เสียชีวิต ตะกั่ว ทำลายระบบประสาท มีผลต่อ พัฒนาการทางสมองของทารก เป็นสาเหตุของโรคโลหิตจาง และ โรคไต ฝุ่นละออง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ!

10.ถ้าเราผัดข้าวแบบจีนด้วยคาบเวลา 0.48 วินาที เทียบได้เป็นกีรอบต่อวินาที่ " ฟิสิกส์ของการผัดข้าวผัด ที่มา ศูนย์ความเป็นเศด้านฟิสิกส์ เวนไซด์ สา 0 car1.ry) ในการการเณ์ทีต้อง "มาน หยุดเชื่อ เพื่อชาติ" กันอยู่นี้ การทำอาหารท่านกันเองในครอนครัวน จะสบายใจและเสนายกระแป้ว.ากาที่สุด าหารประภาทที่ เหรือๆในตู้เย็นมาพกได้เขานทดปนบบ ไม่ดีกรอบความคิดสร้า1สร แค์ รับประทานกันไดาแพศษกย ทท าวมัด" แต่ ตะ แมียต (3) ไดยมรiอครัวมีอยาปีพประสบการณ์สูง คน การผัดแบนน เข้ากันด้วยตะพล้ว ระหว่างนี้ปการยนข้าวเป็นครั้งคราว หลังจากข้าวกันส่วนผสมเอื่นๆ ปนเข้ากันที่แล้ว พครัวจะไยนข้าวอย่างต่อเมื่องไม่กากาว่า เพื่อให้การสร้างแบบถำลองการเคลื่อนที่รลงกระาะไม่ยุ่งมากสนเกินไป นก นทั้งสอเท่านจึง ด้วนแด้วเยนที่ ป็นวงในที่ศตามเริ่มมา ทีก แะเดีย รน ใน เด้นทายรเคลีแนที่แงข้าวที่ถูก ค่าดอบของคุณ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ทำไง😭

2. ยึดหยุ่นสูง บิดรูปได้ง่าย : เบบกง 7. มีสีขุ่น 3. แข็งแรงแต่เปราะ 8. รีไซเคิลไม่ได้ 4. ไม่สามารถหลอมได้ 9. จุดหลอมเหลวต่ำ 5. HDPE 10. พลาสติกเทอร์มอเซต แบบฝึกหัดที่ 1.3 ระบุชื่อพอลิเมอร์ ตัวย่อ และชื่อมอนอเมอร์ที่ใช้ทำวัสดุในภาพ 1. ชื่อพอลิเมอร์ ตัวย่อ ชื่อมอนอเมอร์ 2. ชื่อพอลิเมอร์ ตัวย่อ ชื่อมอนอเมอร์ ชื่อพอลิเมอร์ 3. ตัวย่อ ชื่อมอนอเมอร์ แบบฝึกหัดที่ 1.4 วิเคราะห์ข้อดีและข้อเสียของวัสดุแต่ละประเภทที่กำหนดให้ พร้อมยกตัวอย่าง วัสดุที่พบในชีวิตประจำวัน ตัวอย่างวัสดุที่พบ ข้อดี ข้อเสีย ประเภทของวัสดุ ในชีวิตประจำวัน 1. ยางธรรมชาติ 2. เส้นใยสังเคราะห์ 3. เส้นใยกึ่งสังเคราะห์ 57 ญ่

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ข้อ6และข้อ10ทำยังไงเหรอคะ

5 เล่ม 1 กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้ที่ 1.6 จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. แก๊สไฮโดรเจนแพร่ได้เร็วกว่าแก๊สออกซิเจนกี่เท่า 2. แก๊สชนิดหนึ่งปริมาตร 1.5 ลิตร แพร่ผ่านรูพรุนได้ในเวลา 192 วินาที ส่วนแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ปริมาตรเท่ากัน แพร่ผ่านบริเวณเดียวกันที่อุณหภูมิและความดันเดียวกันได้ในเวลา 84 วินาที มวลโมเลกุล ของแก๊สชนิดนี้เป็นเท่าไร แก๊ส X มีความหนาแน่น 0.80 กรัมต่อลิตร แพร่ไปได้เร็วกว่าแก๊ส Y 1.56 เท่า แก๊ส Y มี ความหนาแน่นเท่าไร 4. แก๊ส A แพร่ได้เร็วกว่าแก๊สอะเซทิลีน (C,H,) 2.55 เท่า แก๊ส A มีมวลโมเลกุลเท่าไร และควรเป็น แก๊สใด 5. ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO) และแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H,S) แก๊สใดแพร่ได้เร็วกว่าและเร็วกว่ากี่เท่า 4 ๆ 6. แก๊สออกซิเจน (O) แพร่ผ่านท่อระยะทางหนึ่งใช้เวลา 2.5 นาที่ ที่ภาวะเดียวกัน แก๊สมีเทน (CH.) จะแพร่ผ่านท่อดังกล่าวใช้เวลากี่นาที 7. เรียงลำดับการแพร่จากเร็วไปช้าของแก๊สต่อไปนี้ Ne N2 CO CO) C;H, NO, HF และ Cl, เคลื่อนที่ผ่านผนังเข้าไปในสุญญากาศใช้เวลา 400 วินาที และแก๊สชนิดที่ แก๊สชนิดที่ 1 จำนวนเท่ากันแพร่ผ่านใช้เวลา 100 วินาที แก๊สใดหนักกว่ากันและหนักกว่ากี่เท่า 9 แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO,) แพร่ผ่านเครื่องมือวัดไช้เวลา 16 วินาที แก๊สมีเทน (C,H,0) แพร่ผ่าน 8. STP 2 เครื่องมือวัดเดียวกันจะใช้เวลากี่วินาที 10. แก๊ส A, 5.6 ลูกบาศก์เดซิเมตร ที่ STP มีมวล 16 กรัม แก๊ส B2 1.4 ลูกบาศก์เดซิเมตร มีมวล 0 ั แก๊สชนิดใดแพร่ได้เร็วกว่าและเร็วกว่ากี่เท่า

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0