ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

วิทย์กายภาพเคมี ม.4

ใบงาน เรื่อง องค์ประกอบในอากาศ วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 ื่อ บทที่ 1 อากาศ เลขที่ อ) มุมความรู้ สัดส่วนองค์ประกอบในอากาศ แก้สในโตรเจน 78% แก๊สอื่น ๆ เช่น แก๊สอาร์กอน 0.9% แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 0.04% แก๊สฮีเลียม 0.0005% แก๊สออกซิเจน 21% 1. จงนำตัวอักษรหน้าข้อความทางขวามือไปเติมหน้าข้อที่มีความสัมพันธ์กันต่อไปนี้ (ตัวอักษรสามารถซ้ำข้อได้) 1) มีปริมาณมากที่สุดในอากาศ 2) มีปริมาณน้อยกว่าแก๊สที่มีมากที่สุดในอากาศประมาณ 4 เท่า A. แก้สออกซิเจน B. แกสในโตรเจน 3) ถ้าไม่มีองค์ประกอบนี้ในอากาศจะเรียกว่า อากาศแห้ง C. แกสมีเทนไอน้ำ 4) มีส่วนสำคัญในปฏิกิริยาการเผาไหม้ การเกิดสนิม 5) เป็นสารตั้งต้นในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 6) ชื่อตรงกับคำในภาษากรีกที่มีความหมายว่า "ขี้เกียจ เฉื่อยชา" 7) เคลื่อนที่เข้าและออกจากปอดโดยไม่ทำปฏิกิริยากับสารใด ๆ ในร่างกาย 8) ทำปฏิกิริยาเคมีกับสารอาหารแล้วให้พลังงานที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต D. แกสอาร์กอน E. แก้สฮีเลียม F. แกสไฮไดรเจน G. แกสคาร์บอนไดออกไซด์ H. แกสโอโซน ตอร่างกาย I. แกสคาร์บอนมอนอกไซด์ 9) เป็นผลิตภัณฑ์จากกระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิตและการเผาไหม้เชื้อเพลิง 10) มีความเฉื่อยช้ำ ไม่ว่องไวต่อการเกิดปฏิกิริยาเช่นเดียวกับแก๊สอาร์กอน ง. ไอน้ำ หน้า 1

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ🙏🏻🙏🏻

1. ให้นักเรียนตอบ ถูก หน้าข้อความที่ถูกต้อง และ ตอบ ผิด หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง 1. น้ำเลือดจะทำหน้าที่ลำเลียงสารอาหารที่ย่อยแล้วไปยังเซลล์ต่างๆทั่วร่างกาย 2. เซลล์เม็ดเลือดแดงมีขนาดใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลือดขาวแต่มีจำนวนน้อยกว่า 3. เซลล์เม็ดเลือดขาวลำเลียงแก๊สออกซิเจนไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย 4. เซลล์เม็ดเลือดแดงของมนุษย์ไม่มีนิวเคลียส 5. เซลล์เม็ดเลือดแดงต่อสู้ทำลายเชื้อโรค 16. เฮโมโกลบิน ทำหน้าที่ลำเลียงแก๊สออกซิเจน พบในเซลล์เม็ดเลือดแดง 17. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจนจะถูกลำเลียงโดยละลายในน้ำเลือดแล้วถูก ลำเลียงไปตามหลอดเลือด 8. เกล็ดเลือดมีหน้าที่ป้องกันไม่ให้เลือดแข็งตัว 19. ช่องทางนำอากาศเข้าสู่ร่างกาย มีอยู่ทางเดียว คือ จมูก 10. ระบบทางเดินหายใจแก๊สออกซิเจนจะถูกเปลี่ยนที่ปอด โดยกระบวนการแพร่ 11. การหายใจเข้า กะบังลมจะเคลื่อนที่ต่ำลงปริมาตรช่องอกเพิ่มขึ้น 12. สิ่งที่กำหนดอัตราการหายใจเข้า - ออก คือ ปริมาณแก๊สออกซิเจน 13. หายใจเข้าเต็มที่จะมีอากาศเข้าไปยังปอดเพิ่มมากจนอาจถึง 6,000 cm |14. ปอดได้รับแก๊สออกซิเจนโดยวิธีการแพร่ 15. การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดขึ้น 2 แห่ง คือ ที่หัวใจ และ ปอด 2. ให้นักเรียนเติมคำที่เกี่ยวข้องกับระบบหมุนเวียดเลือดให้ถูกต้อง ระบบหมุนเวียนเลือด ห้องบน เวน เซลล์เม็ดเลือดแดง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหาคำตอบหน่อยค่ะ หนูไม่เข้าใจค่ะ

ง ขนาดอะตอม เลขา หน้า 9 12. ให้นักเรียนนำตัวอักษรหน้าชื่อสารกัมมันตรังสีที่กำหนดให้ ไปเขียนหน้าข้อที่เป็นการใช้ประโยชนจากสารกัมมันตรังสี ชนิดนั้นๆ ให้ถูกต้อง 1) หาอายุของวัตถุโบราณ เช่น ไม้ กระดูก สารอินทรีย์ต่าง ๆ 2) ติดตามดูความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ 3) ติดตามดูภาพสมอง 4) ตรวจดูระบบการไหลเวียนของเลือด 5) ตรวจดูภาพหัวใจ ตับและปอด 6) รักษาโรคมะเร็ง 7) ปรับปรุงเมล็ดฟันธุ์พืช 8) การเก็บถนอมอาหาร A. โซเดียม-24 B. ฟอสฟอรัส-32 C. คาร์บอน-14 D. ไอโอดีน-131 E. โคบอลต์-60 F. เทคนีเซียม-99 G. ไอโอดีน-132 H. โคบอลต์-60 และเรเดียม226 13. หากนักเรียนพบัญลักษณ์นี้บนบรรจุภัณฑ์ของอาหาร แสดงว่าอาหารนั้นผ่านกรรมวิธีใด และจงยกตัวอย่าง อาหารที่สามารถพบสัญลักษณ์นี้บนบรรจุภัณฑ์ ตอบ

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยทำหน่อยนะคะ🤍💛

แบบทดสอบท้ายเล่ม เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว 4 สถานการณ์ใดต่อไปนี้ทำให้เกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี 1. น้ำมันแยกตัวกับน้ำ 2. ท่อเหล็กระบายน้ำฝน 3. ภูเขาน้ำแข็งลอยในน้ำทะเล 4. ก้อนลูกเหม็นมีขนาดเล็กลง 2. ข้อใดคือสมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมีของน้ำส้ม ตามลำดับ 1. นำไฟฟ้า นำความร้อน 2. นำไฟฟ้า มีฤทธิ์เป็นกรด 3. ของเหลว มีรสเปรี้ยว 4. ของเหลว ติดไฟง่าย 3. ข้อใดเป็นการจัดเรียงอนุภาคของแก๊ส 1. อนุภาคอยู่ห่างกัน 3. อนุภาคอยู่ติดกัน 2. อนุภาคอยู่ชิดกัน 4. อนุภาคอยู่ใกล้กัน ปรากฏการณ์ทินดอลล์ใช้แยกสารผสมในข้อใดออกจากกันได้ 1. น้ำคลอง และน้ำแป้ง 3. น้ำเกลือ และน้ำเชื่อม 5. อนุภาคของน้ำแป้งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่าไร 1. 10-10 เซนติเมตร 2. น้ำปลา และน้ำตาล 4. น้ำเกลือ และน้ำนม 2. มากกว่า 10 เซนติเมตร ห์ 3. มากกว่า 10 เซนติเมตร 4. น้อยกว่า 10 เซนติเมตร 6. ขณะที่มวลก้อนน้ำแข็งกำลังละลายมีสิ่งใดที่เปลี่ยนแปลง 1. มวลโมเลกุล 3. น้ำหนักโมเลกุล 2. ขนาดโมเลกุล 4. การเคลื่อนที่ของโมเลกุล 7. ข้อใดไม่ใช่ผลของความร้อนที่ส่งผลต่อสถานะของสาร 2. การแข็งตัว 1. การละลาย 4. การระเหย 3. การระเหิด ข้อใดมีอุณหภูมิเดียวกับจุดเดือดของน้ำ 1. เมฆกลั่นตัวเป็นฝน 8. 2. ลูกเห็บที่ตกจากฟ้า 4. หิมะละลายกลายเป็นธารน้ำ 3. น้ำระเหยกลายเป็นเมฆ แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

พี่ๆ เพื่อนๆ คนไหนรู้คำตอบมั้งคะ ภาพเเรก# เรื่องส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบประสาท ภาพที่2 # เรื่อง การทำงานของระบบหมุนเวียนเลือด ภาพที่3... อ่านต่อ

เรื่อง ส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบประสาท ระบบประสาท ทำหน้าที่ 2. องค์ประกอบของระบบประสาทมีอะไรบ้าง 1 เซลล์ประสาท 3. เซลล์ประสาทมี ขนิด เทำหน้าที่ 3.1 3.2. เทำหน้าที่ 3.3. เทำหน้าที่ 4. สมองส่วนซีรีบรัม ทำหน้าที่เกี่ยวกับ 5. สมองส่วนซีรีเบลลัม ทำหน้าที่เกี่ยวกับ 6. สมองส่วนก้านสมอง ทำหน้าที่เกี่ยวกับ 7. ไขสันหลัง ทำหน้าที่ 8. ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ คือ 9. เมื่อสัมผัสของร้อนแล้วเราดึงมือกลับทันทีเป็นปฏิกิริยารีเฟล็กซ์หรือไม่เพราะเหตุใด ตอบ. 10. ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์มีประโยชน์ค่อมนุษย์อย่างไร ตอบ.. 11. นักเรียนมีวิธีในการดูแลระบบประสาทได้อย่างไร ตอบ. ((((()

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยทำหน่อยค่ะ พี่ๆ น้องๆ เพื่อนๆ คนไหนรู้คำตอบมั้งคะ😊

เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบหายใจ เรียงลำดับชื่อส่วนของร่างกาย ในการผ่านของอากาศในการหายใจเข้า รูจมูก โพรงจมูก ห่อลม ถุงลม หลอดลม ๒๕๕ - 4. - กิจกรรม การหายใจเข้าและการหายใจออกเกิดขึ้นได้อย่างไร สังเกตและอธิบายกลไกการหายใจเข้า และการหายใจออกโดยใช้แบบจำลอง การทำงานของปอด สิ่งที่ค้นพบจากกิจกรรม เมื่อดึงแผ่นยางลง ลูกโป่งจะ 1 เนื่องจาก 2. เมื่อดันแผ่นยางลง ลูกโป่งจะ เนื่องจาก ขณะหายใจเข้า ขณะหายใจออก 1. กระบังลมจะ 1. กระบังลมจะ 2. กระดูกซี่โครงจะ 3. ปริมาตรช่องอกจะ 2. กระดูกซี่โครงจะ 3. ปริมาตรช่องอกจะ 4. ความดันในช่องอกจะ 4. ความดันในช่องอกจะ กระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊ส 1. การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดที่บริเวณใดของร่างกายบ้าง ตอบ.

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
สุขศึกษา มัธยมต้น

ใครมีรูปแบบนี้ในภาพบ้างส่งมาหน่อยค่าา มองรูปไม่ชัดเลยเขียนไม่ได้

ปิด : น่า สยุป ประเมิน Unit Question คำชี้แจะได้นักเรียนคอบต่าถามต่งอไป่นี้ จะลินายการเคลื่อนที่ของแกิตแสา์เจนจากธากาศมายนะกร่างการเข้าสู่ปอต และแกิดหาร์นสนโดยอกไรค์ จากป่อดยอกลู่ยากาศภายนยกร่างกาย (แนวaoบ Unit Question 1. แก๊สกตกซิเจนจากภากาศเคลื่อนที่เข้าสู่ร่างกาย ทางจมูก หรือปาก จากนั้นเคลื่อนต่อไปยัง โพรงจมูก ท่อลม แยกไปตามหลอดลมเข้าสู่ ปอดทั้ง 2 ข้าง เพื่อไปแลกเปลี่ยนแก็สที่ถุงคม ภายในปกด ส่วนแก๊สคาร์นถนโดอกกไซต์ที่เกิด 2. พิจารณาภาพที่กำหนดให้ แล้ดคอบคำธาม่อไปนี้ จากการแลกเปลี่ยนแก๊สนริเวณถุงลมในป่อด อยกสู่อากาศนภายนอก โดยผ่านมายังหลอดลม ท่อลม โพรงจมูก และจมูก ตามลำดับ 2. 21 หมายเลข 1 คือ กระดูกซี่โครง ทำงาน ช่วมกับกล้ามเนื้อยีดกระดูกซี่โครงในการ เปลี่ยนแปลงปริมาตรของช่องกระหว่าง การทายใจเข้าและหายใจยan หมายเลข 2 คีย กะบังดม ทำหน้าที่รั้งปอดลง เพื่อให้ กากาศเข้าสู่ปอดรณะทายใจเข้า และตัน ปอดขึ้นเพื่อไล่อากาศแยกจากปอดขณะ หายใจยอา 2.2 จากภาพ เป็นการหายใจตอก เนื่องจาก กระดูกซี่โครงเลี่ยนต่ำลงและทะนังคมลื่อน สูงขึ้น ทำให้ในช่องยกมีปริมาตรลดลงและ มีความดันเพิ่มขึ้น อากาศจึงถูกค้นออกสู่ 2.1 จากภาพ หมายเลข 1 และหมายเลข 2 คืออวัยวะได มีส่วนช่วยในการหายใจอย่างไร 2.2 จากภาพ เป็นการหายใจเข้าหรือออก เพราะเหตุใด ภายนอกร่างกาย การแลกแปลี่ยนแกิสมีกระบวนการอม่างไร 3. การแลกเปลี่ยนแก๊สเป็นเระบวนการแลกเปลี่ยน แก๊สออกซิเจนกับแก็ตตาชันอนไดออกไซด์ ซึ่งเกิดขึ้น 2 บริเวณ ได้แก่ 1) บริเวณปลด มีการแลกเปที่ยนแก้ตระหว่าง ถุงผมกันหลยดเดือดฝย โดยแก๊สยแกซิเจน แพร่จากถุงดมเข้าสู่หลอดเดือดผอย ส่วน เพราะเหตุดผู้ปายโรหยงผมไปอดยงจตายในเร็วกว่าคนปกติ หน่ายโดทำหน้าที่คำจัดของเสียงเทจากร่างกายได้อย่างไป เพราะเหตุใจึงไม่พบโปรดันและกลูโคตปนออกมากับน้ำปัดสาวะ เพราะเหตุใดแพทย์จึงและนำให้ที่มน้ำสะลาคผ่างมัมแลวันละ 2 โคร แก็สคาร์นแนไตยกใซต์แพร่จากหละดเดิกต ฝอยเข้าสู่ถุงหม 2) บริเวณเซตล์ต่างๆ มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส ระหว่างหลอดเลือดฝ่อยกับเซลล์ โดยแก็ส ถยกซิเจนแพร่จากหลอดเลือดฝอยเข้าสู่เซล์ ส่วนแก๊สตาร์บอนโดออกไซต์แพร่จากเซลล์ เข้าสู่หลอดเลือดฝอย 4. เนื่องจากผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งทองมีผบังถุงลมฉีกขาด พื้นที่ผิวแลกเปลี่ยนแก้สจึงนัยยลง ทำให้แก๊ตกกซีเจนที่ได้รับไม่เทียงพอกับความตัดงการของร่างกาย จึงต้องหายใจเส็วและีกว่าคนปกติ เพื่อให้ได้รับแก้สอยกซิเจนที่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย 6. หน่วยโดทำหน้าที่กรองลารต่างๆ อยกจากเลีอด ซึ่งมีเฉพาะตารขนาดเลิก เช่น น้ำ กลูโคส กรดอะมิโน และของเสียค่างๆ เช่น ยูเชีย ที่ถูกรองเข้าส่ หน่วยใต และสารที่มีประโยชน์ถูกดูดกตับเข้าสู่หลยดเลือดฝอย ทำให้เหลียเฉพาะของเสียท่ผ่านหน่วยไดไปยังท่อไต และใไปรวมยังกระเพาะปัสลาวะเป็น น้ำปัดตาระ เพื่อกำจัดออแจากร้างกายทางท่อมัสสาวะต่อไป 4. เนื่องจากสารที่ถูกกรองผ่านเหน่วยโดเป็นสารที่มีขนาดเล็ก ซึ่งโปรตีนเป็นสารขนาดใหญ่จึงไม่ผ่านการกรองเข้าสู่หน่วยได ส่วนกลูโคสเป็นดารที่มีขนาดเล็ก และเป็นสารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายจึงถูกลูดกลับเข้าสู่หลอดเลียดฝอย ดังนั้น จึงไม่คนไปรตีนและกลูโคลปนแออกมากับน้ำปัดลาวะ 7. การดื่มน้ำสะอาดอย่าเพียงพอเป็นการช่วยให้ไดไม่ทำงานหนักจนเกินไปเพราะไดไม่ต้องกรองน้ำเลือดที่มีความเข้มข้นมากจนเกินไป ทำให้โดทำงานไต้ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งแพทย์แนะนาให้ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยรันละ 8-10 แก้ว หรือบระมาณวันละ 2 ลิตร < 80 / 154 %

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สุขศึกษา มัธยมต้น

ตามภาพเลยค่ะ 🥺

๖๘ แบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ ตอนที่ ๑ คำชี้แจง : ให้นักเรียนเขียน (O ล้อมรอบคำตอบที่ถูกต้องที่สุด ๑. โรคในข้อใดไม่ใช่โรคติดต่อ แบบทดสอบออนไลน ข. โรคไข้หวัดนก ก. โรคเอดส์ ค. โรคความดันเลือดสูง ง. โรคไข้เลือดออก ๒. โรคในข้อใดเป็นโรคติดต่อ ก. โรคหัวใจและหลอดเลือด ข. โรคมือ เท้า ปาก https://eqrcode.co/aม2VYOG ค. โรคมะเร็ง ง. โรคเบาหวาน โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่เกิดจากสัตว์ชนิดใดที่เป็นพาหะนำโรค ก. ยุงลาย ข. ยุงกันปล่อง ค. นก ง. หนู ๔. อาการที่บ่งบอกว่าเป็นโรคเบาหวานคือข้อใด ก. หัวใจเต้นผิดปกติ ข. เหงื่ออกง่าย หน้ามืด คลื่นไส้ ค. ปัสสาวะบ่อยและมากในตอนกลางคืน ง. มีไข้สูง ปวดศีรษะ ๕. พฤติกรรมใดที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันเลือดสูง ก. กินอาหารรสเค็มจัด ข. กินอาหารรสหวานจัด ค. กินอาหารรสมันมาก ง. กินอาหารรสเผ็ดจัด ๖. มะเร็งที่พบมากอันดับหนึ่งในผู้หญิงคือข้อใด ก. มะเร็งปากมดลูก ข. มะเร็งเต้านม ค. มะเร็งปอด ง. มะเร็งผิวหนัง ๗. พฤติกรรมในข้อใดเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็ง ก. กินอาหารรสหวานจัด มันจัด ข. ออกกำลังกายบ้าง บางครั้ง ค. งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ง. กินอาหารร่วมกับผู้ป่วยโรคมะเร็ง

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1