ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มหาวิทยาลัย

เรื่องจลนศาสตร์เคมี

ข้อสอบเรื่องจลนศาสตร์เคมี 1) ปฏิกิริยาระหว่าง diethylhydrazine และ iodine เกิดปฏิกิริยาดังนี้ (C2H5)2(NH)2 (l) ) + I2 (aq) → (C₂H5)2(N₂ (l) ) + 2HI (aq) เมื่อศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาของปฏิกิริยานี้โดยศึกษาการจางลงของสีม่วงของสาร I ที่อุณหภูมิ 25 °C การศึกษาดังแสดงในตารางดังนี้ (6 คะแนน) การทดลองครั้งที [(C2H5)2(NH)2] M [12], M อัตราการเกิดปฏิกิริยา, Ms 1 1 0.150 0.250 1.08 x 10 4 2 0.150 0.362 1.56 x 10 4 3 0.200 0.400 2.30 x 10 4 4 0.300 0.400 3.44 x 10 4 1.1) จงคำนวณหาอันดับของปฏิกิริยา เมื่อเทียบกับ (C2Hs) (NH), และเมื่อเทียบกับ 12 และคำนวณหา อันดับรวมของปฏิกิริยา (overall order) 1.2) จากอันดับของปฏิกิริยาที่คำนวณได้ จงเขียนกฎอัตรา (rate law) ของปฏิกิริยานี้ 1.3) จงคำนวณค่าคงที่อัตราของปฏิกิริยา (k : rate constant) ที่อุณหภูมิ 25 °C พร้อมทั้งระบุหน่วย = = 1.4) จากการคำนวณข้อ 1.1 - 1.3 ถ้าทำการทดลองโดยใช้ [(C2H5) (NH)2] มีค่า = 0.500 M และ _ [I2] = 0.900 M จงคำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยานี้ ซึ่งได้ข้อมูล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอทำได้บ้างมั้ยคะ ช่วยหน่อยย🥹 อยากได้ก่อนบ่ายโมง🥹

2,000 kg ข้อสอบปลายภาคการศึกษา 1/2566 2. จงหาแรงที่จุดรองรับที่ถูกแรงกระทำกับโครงสร้างดังแสดงในภาพ (40 คะแนน) D 600 55° 7,000 kg 1.4 m 0.4 m สมชายสามารถนำชิ้นส่วนออกได้จริงหรือไม่ B 5 kN C 4 m 4453 เมื่อกล่องมีมวล 100 kg และ a = 1.25 m 3. จงหาแรงที่กระทำที่จุด D และ E และในชิ้นส่วน AB, DB, BC, DE และ BE ของโครงสร้างดังแสดง ในรูปที่ 3 จากนั้นนายสมชายได้แนะนำว่าสามารถเอาชิ้นส่วน BE ออกได้จากคำแนะนำของนาย (40 คะแนน) กลศาสตร์วิศวกรรม 2 m E 10 kN -2m- -4 m AC = CE = 4 m AB = 5 m รูปที่ 3 4.1 รถขนของดังแสดงในรูปที่ 4.1 เมื่อลังมีมวล 20 kg กระทำที่จุดกึ่งกลางของลังจงหาแรง ปฏิกิริยาที่กระทำที่จุดรองรับ A, B และ C 4.2 ระบบส่งกำลังโดยคานหมุนดังแสดงในรูปที่ 4.2 จงหาแรงดึง T และแรงปฏิกิริยาที่กระทำที่ จุดรองรับ C และ D 4.3 แท่งเหล็กมวล 50 kg ยึดโดยสายเคเบิลดังแสดงในรูปที่ 4.3 จงหาแรงดึงในสายเคเบิลทั้ง 3 เส้น (ข้อ 3 เลือกทำ 1 ข้อ) (40 คะแนน)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค่ะ เรางมมาตั้งแต่เมื่อคืนแล้ว ใกล้ส่งแล้วด้วย

คำถาม 1. จงเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความสูงของตะกอน (แกน Y กับปริมาตรของสารละลาย Pb(NO3), ที่ใช้ในแต่ละหลอด (แกน X ) (CM) 0.6 0.3 6.4 0.3 0.1 1 2 3 4 5 2. จากกราฟ จงหาปริมาตรของสารละลาย KI ที่ทำปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย KI 3 ml (ml) Mestn 3. เมื่อนำสารละลายใสเหนือตะกอนไปทดสอบกับ KI และ Pb(NO), หลอดใดที่ KI และ Pb(NO) ทำ ปฏิกิริยากันพอดี ทราบได้อย่างไร และปริมาตรที่สารทั้งสองทำปฏิกิริยาพอดีกันเท่ากับปริมาตรที่หาได้จาก กราฟหรือไม่ หากไม่เท่ากันให้บอกความคาดเคลื่อนที่เกิดขึ้น

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/3