ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไท... อ่านต่อ

ใบงานที..... อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภัสพรรณ เลาสุทแสน - สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเราได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23,38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีมลดส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งแหกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุด ราคาน้าเช้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข่าวสารที่ทันสมัย คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค่ะส่งพรุ่งนี้ก่อน4โมงเย็นคะ

21:43 จ. 4 ธ.ค. บันทึก 4 ธ.ค. 2023 LED UID Tt 89% แบบฝึกหัด 3 ร้านเบเกอรี่แห่งหนึ่งผลิตแซนวิชหมูหยองและแซนวิชไส้กรอก โดยต้องผ่านกระบวนการใส่ไส้และ ประกบ ซึ่งพนักงานใช้เวลาในการใส่ไส้แซนวิชหมูหยอง 5 นาทีและประกบ 5 นาที ส่วนแซนวิชไส้กรอก พนักงานใช้เวลาในการใส่ไส้ 4 นาที และประกบ 2 นาที โดยเวลาในการทำงานก่อนเริ่มขายช่วงเช้าจะใช้เวลา ในการใส่ไส้ 80 นาที และเวลาในการประกบ 70 นาที ร้านเบเกอรี่แห่งนี้ควรผลิตสินค้าจำนวนเท่าไหร่จึงจะทำ กำไรได้สูงสุด โดยที่กำไรของแซนวิชหมูหยองอยู่ที่ 5 บาทต่อชิ้น และแซนวิชไส้กรอกอยู่ที่ 3 บาทต่อชิ้น

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องการอยากทราบคำตอบของโจทย์เรื่องพริกไทย

อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภีสุพรรณ เลาสุทแสน - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ อาน เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคาน้ำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23.38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีผลผลิตส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งผลกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุดคือราคานำเข้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ไปทาน คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ จำนวน 20 รายโสผู้บริโภค ระโย 2006 207 คนในคร โลก 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? - คาคาชน ที่เกี่ยว 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ?ราคาที่ผลิต (1) ต้นตระก 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ) เทคโนโว เกมติม 28294 บริ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มหาวิทยาลัย

ช่วยสรุปจากเรื่องนี้ให้หน่อยนะคะ สรุปการอ่านเพื่อประเมินค่า จากเรื่องนี้ค่ะ

คำชี้แจง : อ่านเพื่อประเมินค่า ข้อ ๒. เรื่อง มิตรภาพ คนเราล้วนมีคำนิยามในสิ่งที่เหมือนกันต่างกันไป เหมือนกับการมองเหรียญหนึ่งเหรียญแต่มองได้หลายมุม บางคนอาจจะว่ามันมี ความโค้ง บางคนอาจมองว่ามันดูเงาวาววับ บางคนอาจจะว่ามันแข็ง ฉะนั้นแล้วเราไม่ควรมองสิ่งต่างๆ เพียงด้านเดียวและไม่ควรตัดสินใจอะไร ต่างๆด้วยการมองเขาเพียงแค่ด้านเดียวเท่านั้น ก็เหมือนกับการสร้างมิตรภาพที่นับวันยิ่งหาได้ยาก หากเรามัวแต่มองเขาเพียงด้านเดียว ตัดสินเขาเพราะเขาเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ก็จะมีแต่เราเองที่เป็นทุกข์ พุทธศาสนาสอนมนุษย์ทุกคนว่า ทุกสิ่งบนโลกใบนี้ล้วนแล้วแต่เป็น “อนัตตา” คือความไม่มีตัวตนอย่าคิดอย่าปองว่าทุกสิ่งเป็นของ ตน แม้แต่ร่างกายที่เราว่าเป็นของเราแต่เรายังไม่สามารถบังคับให้ไม่เจ็บไม่ป่วยได้ แล้วนับอะไรกับมนุษย์และสรรพสัตว์รอบกายของเราเล่า เขา มีจิตใจมีความคิดมีความรู้สึกต่างๆ ตามแบบฉบับของมนุษย์ทุกคน เราไม่สามารถไปกำหนดให้เขามาดพเนินตามเส้นทางที่เราขีดไว้ให้ได้อย่าง แน่นอน “สัพเพ ธัมมา อนัตตา สรรพสิ่งเป็นอนัตตาบังคับบัญชาไม่ได้ เพียงแต่อ่านข้อความนี้ก็ไม่ต้องมีคำนิยามใดๆ ลงมาพ่วงท้ายก็เชื่อว่า หลายคนสามารถตีความข้อความนี้ได้ถูกต้องอย่างแน่นอน ฉะนั้นเรามาสร้างสิ่งต่างๆ รอบกายเพื่อให้เป็นมิตรที่คนเขาเรียกว่ามิตรภาพที่ดีแก่ตัว มิตรภาพไม่ได้จำกัดอยู่ที่เพื่อนที่เดินไปโรงเรียนหรือที่ทำงานแล้วเจอกันเท่านั้น เพื่อนหรือมิตรภาพนี้ยังหมายถึงสัตว์เลี้ยงของเรา เรากัน ที่คอยเป็นเพื่อนเล่นกับเราเวลาที่เราเหงา หรือแม้แต่เสาไฟที่คอยส่องแสงสว่างในช่วงเวลากลางคืนที่คอยเป็นเพื่อนที่ดีให้กับคนขับรถอีกด้วย ไม่มีที่ไหนที่เราจะไม่พบคำว่ามิตรภาพ หากมองดูแล้วมันมีความหมายมากกว่าคำนิยามตามพจนานุกรมแน่นอน หลายคนก็หลายความคิด แตกต่าง มิตรเป็นสิ่งที่ยั่งยืนในความหมายของมัน แต่ในทางกลับกันมิตรภาพกับเป็นสิ่งที่ไม่จีรังเอาเสียเลย เราลองมองรอบกายตัวเองดูแล้ว รอบกายของเรากลับไม่เคยเหมือนเดิมเลยสักวัน เหมือนกันการเดินทางที่ไม่มีที่สิ้นสุด ที่แต่ละวันเราต้องเปลี่ยนคนรู้จักร มิตรภาพ การเดินทาง ไปเรื่อย ๆ แต่ภาพของมิตรภาพความทรงจำเก่าๆก็ยังติดอยู่ที่ตรงนี้ที่เรียกว่า จิตใจ ช่วงเวลาที่หลายคนเรียกมันว่า “จุดเปลี่ยน” วัยไหนๆหรือวันไหนๆก็มีจุดเปลี่ยนกันทั้งนั้นไม่มีใครสามารถล่วงรู้อนาคต ที่จะเกินกับเราได้ เราทำได้ดีที่สุดเพียงเดินตามอย่างระมัดระวังเท่านั้น จุดเปลี่ยนนั้น ต่างศาสตร์ต่างความคิดกันไป ตามกฎหมาย แล้วเมื่อถึงอายุที่กำหนดก็จะเปลี่ยนสถานภาพ จากเด็กหญิงตัวเล็กๆ เป็นนางสาวเพียงข้ามวัน แล้วเปลี่ยนเด็กชายเป็นนายโดยไม่รู้ตัว แต่ถ้าตามระบบการศึกษาก็คือเปลี่ยนทุกปีที่จบการศึกษาคือปีก่อนยังเป็นนักเรียนชั้นม.5 แล้วปีนี้ไหนกลายเป็นชั้นม.6 แล้ว รวดเร็ว เหลือเกิน สิ่งที่ผ่านมาสอนอะไรเราบ้าง ทั้งความสุข ความทุกข์ อารมณ์เหงา ดีใจ ซาบซึ้ง สิ่งเหล่านี้ล้วนสอนเราผ่านคำว่ามิตรภาพ ท้งนัน หลายคนอาจเจอมิตรภาพที่ดีมาโดยตลอด กับอีกบางคนที่เจอแต่มิตรภาพที่หลอกลวงอยู่ตลอดเช่นเดียวกัน คนเคย กล่าวว่าเพื่อนเป็นกระจกส่องถึงตัวเรา ก็เหมือนเราอยู่ใกล้ใครคนคนนั้นก็จะเริ่มเปลี่ยน เราก็เริ่มเปลี่ยน จนคล้ายจะเป็นคนที่มีนิสัย ใจคอเดียวกันไปซะแล้ว หากเราเจอแต่เพื่อนที่ดี มิตรภาพที่ยั่งยืน ตัวเราเองก็มีความสุขไปด้วย แต่บางคนเจอเพื่อนที่ดีกลับผลักไส เขาออกห่างจากชีวิตด้วยทิฐิ ต่างๆที่มันเกิดขึ้นกับจิตใจเราด้วยคิดว่าเขาต่างเรา เข้ากันไม่ได้หรอก แล้วเหตุผลสารพัดมารวมกันโดย มิได้นัดหมาย จนสิ่งๆนั้นได้หลุดลอยออกไปจากชีวิต แล้วมันก็เกิดจุดเปลี่ยนตามสถานะภาพของมัน เพื่อนสัมพันธภาพตัดกันไม่ขาด คำนี้ไม่มีใครเถียง แต่บางทีเพื่อนที่ต้องการเวลาในการรักษาจิตใจที่บอบช้ำเหมือนกัน มิตรภาพไม่ได้มีแค่สิ่งสองสิ่งรอบตัวเราแต่มันเป็นทุกสิ่งทุกอย่างรอบตัวเรา เราลองมองแล้วคิดทบทวนให้เวลากับคำว่า มิตรภาพรอบตัวของเราให้มากกว่านี้ ให้ความเข้าใจ เห็นความเป็นไปเท่านั้น แล้วเชื่อว่าอนาคตหรือทุกวันก็เป็นวันที่เราจะก้าวย่าง ไปข้างหน้าพร้อมความมั่นใจ ด้วยกำลังใจจาก “มิตรภาพ” (ปรนันท์ สีบพิมพา, JANUARY ๑๖, ๒๐๑๒)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัย

สวัสดีค่ะช่วยทำคณิตข้อนี้ทีคะไม่เข้าใจ ผลต่างไม่อิสระ

ในการทดสอบประสิทธิภาพของยารักษาโรคความดันโลหิตชนิดหนึ่ง ผู้ศึกษาได้ ทดลองใช้ยานี้กับคนไข้จำนวน 12 คน โดยการวัดความดันโลหิตของคนไข้ก่อนและหลังการใช้ยา นี้ ผลปรากฏดังนี้ คนไข้คนที่ 1 | 2 | 3 | 4 | 5 ก่อนใช้ยา : | 120 | 124 | 130 | 118 | 140 | 128 หลังใช้ยา d₁ | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 140 135 126 130 126 127 118 132 129 135 128 131 131 127 132 125 -1-9 8 3 -1 -2 4 64 49 1 81 64 9 1 -8 -7 141 137 8-2 64 4 -3 -8 9 64 จงหาช่วงความเชื่อมั่นผลต่างระหว่างความดันโลหิตของคนไข้ก่อนและหลังการใช้ยา โดยใช้ระดับนัยสำคัญที่ 0.05 กำหนดว่าความดันโลหิตมีการแจกแจงแบบปกติ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยสรุป แล้วก็ทำเป็นข้อๆให้หน่อยได้มั้ยคะ🙏🏻

dtac-T.Better Together 13:36 บทบัญญัติที่ 4 : คนตอบสนอ cdn.fbsbx.com 4 44%E เรียบร้อย สนองต่อสิ่งจูงใจ เนื่องจากคนตัดสินใจโดยเปรียบเทียบต้นทุนและผลประโยชน์ ดังนั้น พฤติกรรมของคนจึงเปลี่ยนเมื่อ โครงสร้างต้นทุนและผลประโยชน์เปลี่ยนไป นั่นคือ คนตอบสนองต่อสิ่งจูงใจ นั่นเอง เมื่อราคาแอปเปิลสูงขึ้น คนก็ตัดสินใจซื้อลูกแพร์มากขึ้น ซื้อแอปเปิลน้อยลง เพราะต้นทุนในการได้มาซึ่งแอปเปิลสูงขึ้น ใน ขณะเดียวกัน ชาวสวนแอปเปิลตัดสินใจจ้างคนงานมากขึ้น และปลูกแอปเปิลมากขึ้น เนื่องจาก ผลประโยชน์ จากการขายแอปเปิลสูงขึ้น บทบาทหลักของสิ่งจูงใจในการกำหนดพฤติกรรมมีความสำคัญสำหรับการออกแบบ นโยบายของรัฐ(Public Policy) นโยบายของรัฐมักเปลี่ยนแปลงโครงสร้างต้นทุนและผลประโยชน์ของกิจกรรม ภาคเอกชน เมื่อผู้กำหนดนโยบายล้มเหลวในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แสดงว่านโยบายรัฐอาจก่อให้เกิดผลที่ ไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้น ตัวอย่างของผลที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจจากนโยบายของรัฐ เช่น นโยบายว่าด้วยเข็มขัด นิรภัยและระบบป้องกันความปลอดภัยรถยนต์ ในทศวรรษ 1950 รถที่มีเข็มขัดนิรภัยมีจํานวนน้อย ต่างจากใน ปัจจุบันที่รถทุกคันล้วนมีเข็มขัดนิรภัย เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงก็เพราะ "นโยบายของรัฐ" นั่นเอง ในช่วง ปลายทศวรรษ 1960 หนังสือของ Ralph Nader ที่ชื่อ “Unsafe at Any Speed” ก่อให้เกิดกระแสเกี่ยวกับความ ปลอดภัยของรถยนต์ รัฐสภาสหรัฐอเมริกาออกกฎหมายบังคับให้ผู้ผลิตรถยนต์ต้องสร้างอุปกรณ์รักษาความ ส่ ปลอดภัย ซึ่งหมายถึงรถทุกคันต้องมีอุปกรณ์มาตรฐานอย่างเข็มขัดนิรภัยด้วย กฎหมายเข็มขัดนิรภัยกระทบ ความปลอดภัยของรถยนต์อย่างไร ? ผลทางตรงในเรื่องนี้ชัดเจนอยู่แล้ว ถ้ามีเข็มขัดนิรภัยในรถทุกคัน คนก็คาด เข็มขัดนิรภัยกันมากขึ้น และโอกาสที่จะรอดจากอุบัติเหตุรถยนต์ที่มีมากขึ้น ในแง่นี้ เข็มขัดนิรภัยช่วยรักษาชีวิต ผลดีทางตรงด้านความปลอดภัยนี้จูงใจให้รัฐสภาออกกฎหมายดังกล่าว แต่การทำความเข้าใจผลทั้งหมดของ กฎหมายต้องตระหนักว่า คนเปลี่ยนพฤติกรรมโดยตอบสนองสิ่งจูงใจที่เขาเผชิญอยู่ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องใน กรณีนี้คือการขับรถเร็วและความระมัดระวังในการขับรถ การขับรถช้าและระมัดระวังมีต้นทุนเพราะสิ้นเปลือง เวลาและพลังงาน เมื่อผู้ขับขี่ที่มีเหตุมีผลตัดสินใจว่าจะขับรถอย่างปลอดภัยเพียงใด ก็จะเปรียบเทียบ ผลประโยชน์ส่วนเพิ่มจากการขับรถอย่างปลอดภัยกับต้นทุนส่วนเพิ่ม เขาจะขับรถช้าและระมัดระวังเมื่อ ผลประโยชน์จากการเพิ่มความปลอดภัยสูงกว่า นี่เป็นการอธิบายว่าทำไมคนถึงขับรถช้าและระมัดระวังขณะ ถนนลื่นมากกว่าสภาพถนนปกติ หากเราพิจารณาว่าการออกกฎหมายให้คาดเข็มขัดนิรภัยเปลี่ยนแปลงการ คำนวณต้นทุนและผลประโยชน์ของผู้ขับขี่ที่มีเหตุมีผลอย่างไร ? พบว่าเข็มขัดนิรภัยทำให้ผู้ขับขี่รู้สึกว่าอุบัติเหตุ มีต้นทุนต่ำลงเพราะการคาดเข็มขัดนิรภัยช่วยลดความน่าจะเป็นในการบาดเจ็บและล้มตาย ดังนั้น เข็มขัดนิรภัย ลดผลประโยชน์จากการขับรถช้าและระมัดระวังลง ผู้ขับขี่ก็ตอบสนองต่อการใช้เข็มขัดนิรภัยโดยขับรถเร็วขึ้น และลดความระมัดระวังในการขับขี่ลง ผลสุดท้าย กฎหมายเข็มขัดนิรภัยทำให้จำนวนอุบัติเหตุเพิ่มสูงขึ้น 5 แล้วกฎหมายกระทบจำนวนคนตายจากการขับขี่อย่างไร ? ผู้ขับขี่ที่คาดเข็มขัดนิรภัยอาจมีโอกาสรอดชีวิตมาก ขึ้นจากอุบัติเหตุแต่ละครั้ง แต่โอกาสเกิดอุบัติเหตุอาจเพิ่มจำนวนมากครั้งขึ้น จำนวนคนตายสุทธิในประเด็นนี้ยัง ไม่ชัดเจน ยิ่งกว่านั้น การที่ผู้ขับขี่เลือกลดความระมัดระวังในการขับขี่ลงส่งผลกระทบทางลบต่อคนเดินถนน (และผู้ขับขี่ที่ไม่ได้คาดเข็มขัดนิรภัย) เพราะโอกาสเกิดอุบัติเหตุของคนเหล่านี้สูงขึ้นและไม่ได้รับการป้องกัน จากเป็นข้อมกัน ดังนั้น จอมมายว่าด้วยเข็มขัดนิรฉันมีแนวโน้มทำให้จำนวนการตายของคนเดินถนนเพิ่มสูงขึ้น 3

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/5