ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยด้วยครับ งงมากกเลยเรียนไม่กี่ครั้งสอบแล้ว

กังหัน-เครื่องกำเนิดไฟฟ้า เพราะเหตุใด 2-25 มีการปั้มน้ำจากทะเลสาบไปเก็บในถังเก็บที่ความสูง 20 m ด้วยอัตราการไหล 70 L/s โดยมีการใช้กำลัง ไฟฟ้า 20.4 kW ดังแสดงในรูป ถ้าไม่คิดผลของความเสียดทานและการเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์ จงคำนวณหา (ก) ประสิทธิภาพรวม (Overall efficiency) ของชุดปั๊ม-มอเตอร์ (ข) ความดันแตกต่าง ระหว่างทางเข้าและทางออกของปั๊ม (ตอบ (ก) 67.2 % (ข) 196 kPa) 20 m Pump รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 2-25 2-26 น้ำไหลจากระดับความสูง 120 m ด้วยอัตรา 100 m/s เข้าสู่กังหันเพื่อใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ดัง แสดงในรูป ถ้าประสิทธิภาพรวมของชุดกังหัน เครื่องกำเนิดไฟฟ้าเป็น 80% จงคำนวณหากำลังไฟฟ้าของ โรงไฟฟ้าแห่งนี้ กำหนดให้ไม่ต้องพิจารณาผลเนื่องจากแรงเสียดทานในท่อ (ตอบ 94.2 MW) 100 m³/s Generator Turbine turbine-gen = 80% Storage tank 120 m รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 2-26 เปลี่ ใช้เงิ pro 82 .

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 3
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยสรุป แล้วก็ทำเป็นข้อๆให้หน่อยได้มั้ยคะ🙏🏻

dtac-T.Better Together 13:36 บทบัญญัติที่ 4 : คนตอบสนอ cdn.fbsbx.com 4 44%E เรียบร้อย สนองต่อสิ่งจูงใจ เนื่องจากคนตัดสินใจโดยเปรียบเทียบต้นทุนและผลประโยชน์ ดังนั้น พฤติกรรมของคนจึงเปลี่ยนเมื่อ โครงสร้างต้นทุนและผลประโยชน์เปลี่ยนไป นั่นคือ คนตอบสนองต่อสิ่งจูงใจ นั่นเอง เมื่อราคาแอปเปิลสูงขึ้น คนก็ตัดสินใจซื้อลูกแพร์มากขึ้น ซื้อแอปเปิลน้อยลง เพราะต้นทุนในการได้มาซึ่งแอปเปิลสูงขึ้น ใน ขณะเดียวกัน ชาวสวนแอปเปิลตัดสินใจจ้างคนงานมากขึ้น และปลูกแอปเปิลมากขึ้น เนื่องจาก ผลประโยชน์ จากการขายแอปเปิลสูงขึ้น บทบาทหลักของสิ่งจูงใจในการกำหนดพฤติกรรมมีความสำคัญสำหรับการออกแบบ นโยบายของรัฐ(Public Policy) นโยบายของรัฐมักเปลี่ยนแปลงโครงสร้างต้นทุนและผลประโยชน์ของกิจกรรม ภาคเอกชน เมื่อผู้กำหนดนโยบายล้มเหลวในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แสดงว่านโยบายรัฐอาจก่อให้เกิดผลที่ ไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้น ตัวอย่างของผลที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจจากนโยบายของรัฐ เช่น นโยบายว่าด้วยเข็มขัด นิรภัยและระบบป้องกันความปลอดภัยรถยนต์ ในทศวรรษ 1950 รถที่มีเข็มขัดนิรภัยมีจํานวนน้อย ต่างจากใน ปัจจุบันที่รถทุกคันล้วนมีเข็มขัดนิรภัย เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงก็เพราะ "นโยบายของรัฐ" นั่นเอง ในช่วง ปลายทศวรรษ 1960 หนังสือของ Ralph Nader ที่ชื่อ “Unsafe at Any Speed” ก่อให้เกิดกระแสเกี่ยวกับความ ปลอดภัยของรถยนต์ รัฐสภาสหรัฐอเมริกาออกกฎหมายบังคับให้ผู้ผลิตรถยนต์ต้องสร้างอุปกรณ์รักษาความ ส่ ปลอดภัย ซึ่งหมายถึงรถทุกคันต้องมีอุปกรณ์มาตรฐานอย่างเข็มขัดนิรภัยด้วย กฎหมายเข็มขัดนิรภัยกระทบ ความปลอดภัยของรถยนต์อย่างไร ? ผลทางตรงในเรื่องนี้ชัดเจนอยู่แล้ว ถ้ามีเข็มขัดนิรภัยในรถทุกคัน คนก็คาด เข็มขัดนิรภัยกันมากขึ้น และโอกาสที่จะรอดจากอุบัติเหตุรถยนต์ที่มีมากขึ้น ในแง่นี้ เข็มขัดนิรภัยช่วยรักษาชีวิต ผลดีทางตรงด้านความปลอดภัยนี้จูงใจให้รัฐสภาออกกฎหมายดังกล่าว แต่การทำความเข้าใจผลทั้งหมดของ กฎหมายต้องตระหนักว่า คนเปลี่ยนพฤติกรรมโดยตอบสนองสิ่งจูงใจที่เขาเผชิญอยู่ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องใน กรณีนี้คือการขับรถเร็วและความระมัดระวังในการขับรถ การขับรถช้าและระมัดระวังมีต้นทุนเพราะสิ้นเปลือง เวลาและพลังงาน เมื่อผู้ขับขี่ที่มีเหตุมีผลตัดสินใจว่าจะขับรถอย่างปลอดภัยเพียงใด ก็จะเปรียบเทียบ ผลประโยชน์ส่วนเพิ่มจากการขับรถอย่างปลอดภัยกับต้นทุนส่วนเพิ่ม เขาจะขับรถช้าและระมัดระวังเมื่อ ผลประโยชน์จากการเพิ่มความปลอดภัยสูงกว่า นี่เป็นการอธิบายว่าทำไมคนถึงขับรถช้าและระมัดระวังขณะ ถนนลื่นมากกว่าสภาพถนนปกติ หากเราพิจารณาว่าการออกกฎหมายให้คาดเข็มขัดนิรภัยเปลี่ยนแปลงการ คำนวณต้นทุนและผลประโยชน์ของผู้ขับขี่ที่มีเหตุมีผลอย่างไร ? พบว่าเข็มขัดนิรภัยทำให้ผู้ขับขี่รู้สึกว่าอุบัติเหตุ มีต้นทุนต่ำลงเพราะการคาดเข็มขัดนิรภัยช่วยลดความน่าจะเป็นในการบาดเจ็บและล้มตาย ดังนั้น เข็มขัดนิรภัย ลดผลประโยชน์จากการขับรถช้าและระมัดระวังลง ผู้ขับขี่ก็ตอบสนองต่อการใช้เข็มขัดนิรภัยโดยขับรถเร็วขึ้น และลดความระมัดระวังในการขับขี่ลง ผลสุดท้าย กฎหมายเข็มขัดนิรภัยทำให้จำนวนอุบัติเหตุเพิ่มสูงขึ้น 5 แล้วกฎหมายกระทบจำนวนคนตายจากการขับขี่อย่างไร ? ผู้ขับขี่ที่คาดเข็มขัดนิรภัยอาจมีโอกาสรอดชีวิตมาก ขึ้นจากอุบัติเหตุแต่ละครั้ง แต่โอกาสเกิดอุบัติเหตุอาจเพิ่มจำนวนมากครั้งขึ้น จำนวนคนตายสุทธิในประเด็นนี้ยัง ไม่ชัดเจน ยิ่งกว่านั้น การที่ผู้ขับขี่เลือกลดความระมัดระวังในการขับขี่ลงส่งผลกระทบทางลบต่อคนเดินถนน (และผู้ขับขี่ที่ไม่ได้คาดเข็มขัดนิรภัย) เพราะโอกาสเกิดอุบัติเหตุของคนเหล่านี้สูงขึ้นและไม่ได้รับการป้องกัน จากเป็นข้อมกัน ดังนั้น จอมมายว่าด้วยเข็มขัดนิรฉันมีแนวโน้มทำให้จำนวนการตายของคนเดินถนนเพิ่มสูงขึ้น 3

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ธุรกิจ มหาวิทยาลัย

ช่วยหาคำตอบให้ด้วยนะค่ะ

1. 2. 3. 4. 232 ตอนที่ 3 - จงเขียนเครื่องหมายถูก (4) หน้าข้อความที่ถูก และเขียนเครื่องหมายผิด (X) หน้าข้อความที่ผิด (ข้อละ 1 คะแนน) 6. 7. 8. 9. ความเสี่ยง หมายถึง เหตุการณ์การกระทำใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่ ไม่แน่นอน 5. ขีดความสามารถขององค์การ ในแง่ของทรัพยากรและความรู้ เช่น เงินทุน เวลา บุคลากร กระบวนการ ระบบและเทคโนโลยีเป็นสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การ หลักในการตอบสนองความเสี่ยง ได้แก่ การยอมรับ การลด การละ การเลิก การควบคุมเพื่อการป้องกันเป็นวิธีการควบคุมที่กำหนดขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง หมายถึง กระบวนการที่ปฏิบัติโดยบุคลากรทุกคนในองค์การ เพื่อช่วยในการกำหนดกลยุทธ์และการดำเนินงานขององค์การ การจัดการความเสี่ยงช่วยสะท้อนให้เห็นภาพเฉพาะของความเสี่ยงต่าง ๆ ในองค์การ ปัจจัยความเสี่ยงภายนอก ได้แก่ ภาวการณ์การแข่งขัน การเปลี่ยนแปลงนโยบาย และ กระแสสังคม และข้อผิดพลาดตั้งแต่แรก การติดตามและประเมินผลการจัดการความเสี่ยง ควรดำเนินการอย่างต่อเนื่อง การกำหนดวัตถุประสงค์ควรมีกรอบระยะเวลาที่แน่นอน 10. การประเมินโอกาสและผลกระทบของเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นจัดเป็นการระบุความเสี่ยง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องทำเป็นแผนผังอย่างไรคะ

ใบงานการทดลองที่ 6 กรณีศึกษาทางสรีรวิทยาคลินิก เรื่อง Circulating shock วัตถุประสงค์ 1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาการไหลเวียนเลือดในภาวะ Circulating shock ได้ 2. ระบุหลักการและแนวทางในการช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีภาวะ Circulating shock บนพื้นฐานสรีรวิทยา การไหลเวียนเลือด และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและพื้นฐานทางการพยาบาลได้ 3. สามารถสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายวิเคราะห์และเลือกใช้ข้อมูลในการอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและเขียนผังการเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาการไหลเวียนเลือดในภาวะ Circulating shock ได้ 4. ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการอธิบายและเขียนผังการเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนเลือดในภาวะ Circulating shock ได้ กรณีศึกษา ผู้ป่วยชายอายุ 31 ปี ถูกนำส่งโรงพยาบาลโดยอาสาสมัครกู้ภัย เนื่องจากประสบอุบัติเหตุขับมอเตอร์ไซด์ ชนกับรถบรรทุก มีแผลฉีกขาดขนาดใหญ่ที่ต้นขาขวา กระดูกหักทะลุออกมาภายนอก มีเลือดออกมากแบบ Active bleeding เสียเลือดออกไปประมาณ 30% ของปริมาตรเลือดทั้งหมด และมีภาวะ Circulating shock สัญญาณชีพ T 35.5'C P 120/นาที RR 22/นาที BP 80/60 mmHg หายใจตื้น และกระสับกระส่าย ซีด เหงื่อออก ผิวหนังขึ้นแต่เย็น และปัสสาวะออกน้อย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ค่าที่ตรวจพบ ค่าปกติ รายการ pH 7.25 7.35-7.45 Pco2 45 40 mm Hg Po2 88 90 - 100 mm Hg O, saturation 92 94 - 100 % Hct 35 40-45% แนวทางการศึกษา 1. ให้ผู้เรียนร่วมกันทบทวนบทบาทหน้าที่และกลไกการควบคุมการทำงานของระบบไหลเวียนใน ภาวะปกติ 2. อ่านกรณีศึกษาที่กำหนด จากนั้นนักศึกษาระบุ Hemodynamic parameter ที่ มีการ เปลี่ยนแปลงไปจากภาวะปกติหรือไม่ อย่างไร ตลอดจนค้นหาประเด็นที่เป็นสาเหตุที่ทำให้ Hemodynamic parameter เหล่านั้นเปลี่ยนแปลง 3. ระบุและอธิบายกลไกการควบคุมการทำงานของระบบไหลเวียนโลหิตที่เกี่ยวข้อง เพื่อตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนแปลง Hemodynamic parameter เหล่านั้นให้กลับคืนมาสู่ภาวะปกติ/หรือหากไม่ สามารถกลับคืนมาสู่ภาวะปกติได้ ตลอดจนการทำงานของระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) 4. เขียนผังแสดงลำดับของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว (Sequence of physiological events)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/3