ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ฟิสิกส์ค่ะ

5. จากรูปที่ 5 กำหนดให้ ระบบไฟฟ้าเป็นระบบ CBA แรงดันไฟฟ้า Vs = 350 cos (500-35) V. ต่อเข้ากับโหลด 2,10 kW. PF, = 0.75 (Lag), Z₂ = 24 kW 1 PF₂=0.85 (Lag) unz Z, - 15 kW 1 PF = 0.90 (Lead) จงคำนวณหาค่าต่างๆ ดังนี้ (20 คะแนน) - 3 ก. หาค่าอิมพีแดนซ์ของโหลด Z Z และ Z (6 คะแนน) ข. กระแสไฟฟ้าที่สาย II และ I ( 6 คะแนน) ค. กำลังไฟฟ้าที่วัตต์มิเตอร์ที่ต่อ P และ P, วัดได้ 4 คะแนน) ง. กำลังไฟฟ้ารวม P (2 คะแนน) จ. เขียนเฟสเซอร์ไดอะแกรม ของแรงดันและกระแส (2 คะแนน) รูปที่ 5 6. จากรูปที่ 6 ไฟฟ้าระบบ ABC มีแรงดัน Vac = 500 Cos (314t -20°) และ Z, Z, Z, - 35 + 40 - จงคำนวณหาค่าต่างๆ ดังนี้ (20 คะแนน) ก. หาค่าแรงดันไฟฟ้า 3 1 VAB VBC, VCA VAN, VAN VAN (6) " ข. กระแสที่ไหลในสาย 11 และ 1. (6 คะแนน) ค. กำลังไฟฟ้าของโหลด P (4 คะแนน) เขียนเฟสเซอร์ ไดอะแกรม ของแรงดันและกระแส (4 คะแนน) 7. จากรูปที่ 7 เมื่อวงจร B A T Z Ic Z₂ Z₁ N Z₁ Z₂ 3 Z₂

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ช่วยสรุป แล้วก็ทำเป็นข้อๆให้หน่อยได้มั้ยคะ🙏🏻

dtac-T.Better Together 13:36 บทบัญญัติที่ 4 : คนตอบสนอ cdn.fbsbx.com 4 44%E เรียบร้อย สนองต่อสิ่งจูงใจ เนื่องจากคนตัดสินใจโดยเปรียบเทียบต้นทุนและผลประโยชน์ ดังนั้น พฤติกรรมของคนจึงเปลี่ยนเมื่อ โครงสร้างต้นทุนและผลประโยชน์เปลี่ยนไป นั่นคือ คนตอบสนองต่อสิ่งจูงใจ นั่นเอง เมื่อราคาแอปเปิลสูงขึ้น คนก็ตัดสินใจซื้อลูกแพร์มากขึ้น ซื้อแอปเปิลน้อยลง เพราะต้นทุนในการได้มาซึ่งแอปเปิลสูงขึ้น ใน ขณะเดียวกัน ชาวสวนแอปเปิลตัดสินใจจ้างคนงานมากขึ้น และปลูกแอปเปิลมากขึ้น เนื่องจาก ผลประโยชน์ จากการขายแอปเปิลสูงขึ้น บทบาทหลักของสิ่งจูงใจในการกำหนดพฤติกรรมมีความสำคัญสำหรับการออกแบบ นโยบายของรัฐ(Public Policy) นโยบายของรัฐมักเปลี่ยนแปลงโครงสร้างต้นทุนและผลประโยชน์ของกิจกรรม ภาคเอกชน เมื่อผู้กำหนดนโยบายล้มเหลวในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แสดงว่านโยบายรัฐอาจก่อให้เกิดผลที่ ไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้น ตัวอย่างของผลที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจจากนโยบายของรัฐ เช่น นโยบายว่าด้วยเข็มขัด นิรภัยและระบบป้องกันความปลอดภัยรถยนต์ ในทศวรรษ 1950 รถที่มีเข็มขัดนิรภัยมีจํานวนน้อย ต่างจากใน ปัจจุบันที่รถทุกคันล้วนมีเข็มขัดนิรภัย เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงก็เพราะ "นโยบายของรัฐ" นั่นเอง ในช่วง ปลายทศวรรษ 1960 หนังสือของ Ralph Nader ที่ชื่อ “Unsafe at Any Speed” ก่อให้เกิดกระแสเกี่ยวกับความ ปลอดภัยของรถยนต์ รัฐสภาสหรัฐอเมริกาออกกฎหมายบังคับให้ผู้ผลิตรถยนต์ต้องสร้างอุปกรณ์รักษาความ ส่ ปลอดภัย ซึ่งหมายถึงรถทุกคันต้องมีอุปกรณ์มาตรฐานอย่างเข็มขัดนิรภัยด้วย กฎหมายเข็มขัดนิรภัยกระทบ ความปลอดภัยของรถยนต์อย่างไร ? ผลทางตรงในเรื่องนี้ชัดเจนอยู่แล้ว ถ้ามีเข็มขัดนิรภัยในรถทุกคัน คนก็คาด เข็มขัดนิรภัยกันมากขึ้น และโอกาสที่จะรอดจากอุบัติเหตุรถยนต์ที่มีมากขึ้น ในแง่นี้ เข็มขัดนิรภัยช่วยรักษาชีวิต ผลดีทางตรงด้านความปลอดภัยนี้จูงใจให้รัฐสภาออกกฎหมายดังกล่าว แต่การทำความเข้าใจผลทั้งหมดของ กฎหมายต้องตระหนักว่า คนเปลี่ยนพฤติกรรมโดยตอบสนองสิ่งจูงใจที่เขาเผชิญอยู่ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องใน กรณีนี้คือการขับรถเร็วและความระมัดระวังในการขับรถ การขับรถช้าและระมัดระวังมีต้นทุนเพราะสิ้นเปลือง เวลาและพลังงาน เมื่อผู้ขับขี่ที่มีเหตุมีผลตัดสินใจว่าจะขับรถอย่างปลอดภัยเพียงใด ก็จะเปรียบเทียบ ผลประโยชน์ส่วนเพิ่มจากการขับรถอย่างปลอดภัยกับต้นทุนส่วนเพิ่ม เขาจะขับรถช้าและระมัดระวังเมื่อ ผลประโยชน์จากการเพิ่มความปลอดภัยสูงกว่า นี่เป็นการอธิบายว่าทำไมคนถึงขับรถช้าและระมัดระวังขณะ ถนนลื่นมากกว่าสภาพถนนปกติ หากเราพิจารณาว่าการออกกฎหมายให้คาดเข็มขัดนิรภัยเปลี่ยนแปลงการ คำนวณต้นทุนและผลประโยชน์ของผู้ขับขี่ที่มีเหตุมีผลอย่างไร ? พบว่าเข็มขัดนิรภัยทำให้ผู้ขับขี่รู้สึกว่าอุบัติเหตุ มีต้นทุนต่ำลงเพราะการคาดเข็มขัดนิรภัยช่วยลดความน่าจะเป็นในการบาดเจ็บและล้มตาย ดังนั้น เข็มขัดนิรภัย ลดผลประโยชน์จากการขับรถช้าและระมัดระวังลง ผู้ขับขี่ก็ตอบสนองต่อการใช้เข็มขัดนิรภัยโดยขับรถเร็วขึ้น และลดความระมัดระวังในการขับขี่ลง ผลสุดท้าย กฎหมายเข็มขัดนิรภัยทำให้จำนวนอุบัติเหตุเพิ่มสูงขึ้น 5 แล้วกฎหมายกระทบจำนวนคนตายจากการขับขี่อย่างไร ? ผู้ขับขี่ที่คาดเข็มขัดนิรภัยอาจมีโอกาสรอดชีวิตมาก ขึ้นจากอุบัติเหตุแต่ละครั้ง แต่โอกาสเกิดอุบัติเหตุอาจเพิ่มจำนวนมากครั้งขึ้น จำนวนคนตายสุทธิในประเด็นนี้ยัง ไม่ชัดเจน ยิ่งกว่านั้น การที่ผู้ขับขี่เลือกลดความระมัดระวังในการขับขี่ลงส่งผลกระทบทางลบต่อคนเดินถนน (และผู้ขับขี่ที่ไม่ได้คาดเข็มขัดนิรภัย) เพราะโอกาสเกิดอุบัติเหตุของคนเหล่านี้สูงขึ้นและไม่ได้รับการป้องกัน จากเป็นข้อมกัน ดังนั้น จอมมายว่าด้วยเข็มขัดนิรฉันมีแนวโน้มทำให้จำนวนการตายของคนเดินถนนเพิ่มสูงขึ้น 3

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

คำนวนพิกัดของหม้อแปลง cascade ยังไงหรอครับ อย่าง 400 kva 400 kv 3 ตัว

ขั้นบันไดก็คือ ขดลวดสร้างเส้นฟลักซ์แม่เหล็กของหม้อแปลงตัวแรก จะต้องจ่ายกระแสให้กับหม้อ แปลงตัวต่อไปด้วย ฉะนั้นถ้ามีการต่อขั้นบันไดหลายๆ ขั้น หม้อแปลงตัวแรกก็จำเป็นต้องมีกำลังใหญ่ กว่าตัวที่มาต่อเพิ่มขึ้นต่อไป ถ้าใช้หม้อแปลงที่มีกำลังเท่ากันมาต่อขั้นบันได กำลังไฟฟ้าจ่ายออกที่ แรงดันสูง าหนดจะน้อยกว่าผลรวมกำลังของแต่ละตัว นั่นคือหม้อแปลงสามารถจ่ายกระแสได้น้อย กว่าที่กำหนด เช่น หม้อแปลงทดสอบ 400 kV 400kVA 1A 3 ตัวมาต่อขั้นบันได จะได้แรงดันรวมที่ กำหนด 1200 KV แต่จะเหลือกำลังเพียง 900 KVA และกระแส 0.75 A เป็นต้น 1 : ขดลวดแรงต่ำ หรือขดลวดสร้างฟลักซ์ aiman (low voltage or exciting) 2 : ขดลวดแรงสูง (high voltage winding) 3 : ขดลวดคาบเกี่ยว (coupling winding) รูปที่ 2-10 ขดลวดหม้อแปลงสำหรับต่อขั้นบันได การฉนวนหม้อแปลงเมื่อต่อแบบขั้นบันได 3 ขั้น ตามรูปที่ 2-11 จะเห็นได้ว่าหม้อแปลงตัวที่ 2 ซึ่งได้รับแรงดันสร้างเส้นฟลักซ์แม่เหล็กผ่านทางขดลวดต่อคาบเกี่ยวนั้น มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับแรงสูงของ ตัวแรก ฉะนั้นหม้อแปลงตัวที่ 2 นี้ จะต้องได้รับการฉนวน หรือตั้งอยู่บนฉนวนรองรับเท่ากับแรงดัน สูงของตัวแรก ดังในรูป 2-11 200 KVA 0000 400 KVA 3P +1. leee Hil leee 2P 300KVA U 2P ele leee reeeee P III มวน =U 2U 2 leee ถัง S.V 41 นวม - 2U รูปที่ 2-11 ไดอะแกรมการต่อหม้อแปลงทดสอบแบบขั้นบันได 3U กล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ข้อ8ครับ

ตอนที่ 1 ตอบคำถามต่อไปนี้พอเข้าใจ 1. จงให้ความหมายของสถานที่ตั้งโรงงาน 2. จงอธิบายถึงความสำคัญของสถานที่ตั้งโรงงานที่มีต่อธุรกิจ 3. ในการเลือกสถานที่ตั้งโรงงานผู้บริหารสมควรพิจารณาปัจจัยอะไรบ้าง 4. ปัจจัยด้านชุมชนท้องถิ่นมีผลอย่างไรต่อการเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน 5. การตัดสินใจเลือกสถานที่ตั้งโรงงานในต่างประเทศ สิ่งที่จะต้องพิจารณามีอะไรบ้าง 6. ประเทศไทยควรพัฒนาด้านใดบ้าง ถึงจะจูงใจให้นักลงทุนเลือกเป็นสถานที่ตั้งโรงงาน 7. เหตุใดจึงต้องวิเคราะห์จุดคุ้มทุนในการเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน ตอนที่ 2 จงแสดงวิธีทำ 8. ผู้บริหารโรงงานแห่งหนึ่งต้องการเลือกสถานที่ตั้งโรงงานแห่งใหม่โดยมีสถานที่ในการ ตัดสินใจอยู่ 4 แห่ง คือ A, B, C และ D ซึ่งในแต่ละแห่งจะมีต้นทุนคงที่ เช่น ค่าที่ดิน ค่าสร้างอาคาร ค่า เครื่องจักร และต้นทุนผันแปร เช่น ค่าแรงงาน ค่าวัสดุ ค่าการขนส่ง เป็นต้นดังแสดงในตารางต่อไปนี้ จงหา ทำเลที่ตั้ง ต้นทุนคงที่ต่อปี (บาท) ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย (บาท) A B C D 150,000 300,000 500,000 600,000 62 38 24 30 ถ้าท่านได้รับมอบหมายจากผู้บริหารให้ศึกษาความเหมาะสมในการเลือกสถานที่ตั้งแห่งใหม่ 1. กำหนดเส้นกราฟต้นทุนรวมของแต่ละสถานที่ตั้ง 2. คำนวณหาปริมาณการผลิตที่คุ้มทุนของแต่ละสถานที่ตั้ง 3. ถ้าปริมาณความต้องการเป็น 15,000 หน่วยต่อปี เราสมควรตัดสินใจเลือกสถานที่ตั้งใดมาก ที่สุด 9. บริษัทอุตสาหกรรมแห่งหนึ่งต้องการเลือกสถานที่ตั้งเพื่อทำการขยายกำลังการผลิต และ ได้ทำการสำรวจตำแหน่งวัตถุดิบและตลาดสินค้า พบว่า มีตำแหน่งวัตถุดิบที่สำคัญ 2 แห่ง และตลาด สินค้า 2 แห่ง อัตราการขนส่งวัตถุดิบ กิโลเมตรละ 6 บาทคงที่ และอัตราการขนส่งสินค้าไปยังตลาด กิโลเมตรละ 5 บาทคงที่ ไม่ว่าระยะทางจะเป็นเท่าใด รายละเอียดของแหล่งวัตถุดิบและตลาดจำหน่าย อยู่ในตำแหน่งตามภาพ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ข้อ2ตอบอย่างไรหรอคะ ช่วยแนะนำด้วยค่ะ

I| 89 กฎหมายธุรกิจ บท4 คำถามท้ายบท รูปร่วง ซึ่งมีราคา ละรวมถึง ลิขสิทธิ์ เสินที่สำคัญ คือ 1. นายแมนดกลงว่าเมื่อครบกำหนดเวลาตามสัญญาเข่าแล้ว นายแมนยินยอมออกจากที่ดิน ะไม่ซื้อถอนสิ่งปลูกสร้างออกจากที่ดินโดยไม่มีเงื่อบไขใดๆ หลังจากทำสัญญาแล้ว นายแมนทำ การปลูกสร้างบ้านลงบนที่ดินและปลูกต้นมะบ่วงรอบรั่วบ้าน เมื่อครบกำหนดสัญญาเช่า นายแมนขอ ต่ออายุสัญญาเข่าเนื่องจากยังหาที่อยู่ใหม่ไม่ได้ แต่นายหมูไม่ต้องการให้เช่าต่อ นายแมนโกรธมาก จึง บอกกับนายหมูว่าจะรื้อบ้าน และขุดต้นมะม่วงออกไปจากที่ดิน แต่นายหมูไม่ยอม ดังนั้น ให้ท่าน วินิจฉัยว่า นายแมนมีสิทธิรื้อถอนบ้านและขุดต้นมะม่วงออกจากที่ดินได้หรือไม่ เพราะเหตุใด และจ อันติดอยู่กับที่ดิน เสิทธิอันเกี่ยวกับ หวัพย์และรวมถึง องเป็นสาระสำคัญ มลูกหรืออัญชาติ งในที่ดินของผู้อื่น หรัพย์สินของผู้อื่น 2. กำหนดระยะเวลา ระหว่างที่นายโทอยู่อาศัยในบ้านและที่ดินดังกล่าว นายโทปลูกต้นสัก บนที่ดินในบริเวณรั้วบ้าน 20 ต้น และมีต้นมะม่วงขึ้นเองตามธรรมชาติ 10 ต้น ต่อมาอีก 10 ปี นาย โทได้รับอนุญาตจากทางราชการให้ตัดต้นสักดังกล่าว และต้นมะม่วงมีผลเต็มต้น เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2554 นายโทจึงขายต้นสักและผลมะม่วงทั้งหมดให้แก่นายตรี โดยให้นายตรีตัดต้นสักและเก็บผล มะม่วงเองในวันที่ 7 มีนาคม 2554 และนายตรีได้ชำระเงินค่าต้นสัก 80,000 บาท และค่าผลมะม่วง 20,000 บาท ให้แก่นายโทรวม 100,000 บาท เรียบร้อยแล้ว ในวันที่ 2 มีนาคม 2554 นายเอกและ นายโทมีปากเสียงกัน นายเอกจึงไล่นายโทให้ออกจากบ้านและที่ดิน นายโทยอมออกจากบ้านและ ที่ดินดังกล่าวไป ต่อมาวันที่ 7 มีนาคม 2554 นายตรีมาที่บ้านดังกล่าว เพื่อขอตัดต้นสักและเก็บผล มะม่วง แต่นายเอกไม่ยอม ให้วินิจฉัยว่า นายเอกหรือนายตรีมีสิทธิในต้นสักและผลมะม่วงดีกว่ากัน 3. ทรัพย์และทรัพย์สินมีความหมายต่างกันอย่างไร 4. องค์ประกอบของส่วนควบมีกี่วิธี อะไรบ้าง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0