ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ฟิสิกส์ค่ะ

5. จากรูปที่ 5 กำหนดให้ ระบบไฟฟ้าเป็นระบบ CBA แรงดันไฟฟ้า Vs = 350 cos (500-35) V. ต่อเข้ากับโหลด 2,10 kW. PF, = 0.75 (Lag), Z₂ = 24 kW 1 PF₂=0.85 (Lag) unz Z, - 15 kW 1 PF = 0.90 (Lead) จงคำนวณหาค่าต่างๆ ดังนี้ (20 คะแนน) - 3 ก. หาค่าอิมพีแดนซ์ของโหลด Z Z และ Z (6 คะแนน) ข. กระแสไฟฟ้าที่สาย II และ I ( 6 คะแนน) ค. กำลังไฟฟ้าที่วัตต์มิเตอร์ที่ต่อ P และ P, วัดได้ 4 คะแนน) ง. กำลังไฟฟ้ารวม P (2 คะแนน) จ. เขียนเฟสเซอร์ไดอะแกรม ของแรงดันและกระแส (2 คะแนน) รูปที่ 5 6. จากรูปที่ 6 ไฟฟ้าระบบ ABC มีแรงดัน Vac = 500 Cos (314t -20°) และ Z, Z, Z, - 35 + 40 - จงคำนวณหาค่าต่างๆ ดังนี้ (20 คะแนน) ก. หาค่าแรงดันไฟฟ้า 3 1 VAB VBC, VCA VAN, VAN VAN (6) " ข. กระแสที่ไหลในสาย 11 และ 1. (6 คะแนน) ค. กำลังไฟฟ้าของโหลด P (4 คะแนน) เขียนเฟสเซอร์ ไดอะแกรม ของแรงดันและกระแส (4 คะแนน) 7. จากรูปที่ 7 เมื่อวงจร B A T Z Ic Z₂ Z₁ N Z₁ Z₂ 3 Z₂

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอทำได้บ้างมั้ยคะ ช่วยหน่อยย🥹 อยากได้ก่อนบ่ายโมง🥹

2,000 kg ข้อสอบปลายภาคการศึกษา 1/2566 2. จงหาแรงที่จุดรองรับที่ถูกแรงกระทำกับโครงสร้างดังแสดงในภาพ (40 คะแนน) D 600 55° 7,000 kg 1.4 m 0.4 m สมชายสามารถนำชิ้นส่วนออกได้จริงหรือไม่ B 5 kN C 4 m 4453 เมื่อกล่องมีมวล 100 kg และ a = 1.25 m 3. จงหาแรงที่กระทำที่จุด D และ E และในชิ้นส่วน AB, DB, BC, DE และ BE ของโครงสร้างดังแสดง ในรูปที่ 3 จากนั้นนายสมชายได้แนะนำว่าสามารถเอาชิ้นส่วน BE ออกได้จากคำแนะนำของนาย (40 คะแนน) กลศาสตร์วิศวกรรม 2 m E 10 kN -2m- -4 m AC = CE = 4 m AB = 5 m รูปที่ 3 4.1 รถขนของดังแสดงในรูปที่ 4.1 เมื่อลังมีมวล 20 kg กระทำที่จุดกึ่งกลางของลังจงหาแรง ปฏิกิริยาที่กระทำที่จุดรองรับ A, B และ C 4.2 ระบบส่งกำลังโดยคานหมุนดังแสดงในรูปที่ 4.2 จงหาแรงดึง T และแรงปฏิกิริยาที่กระทำที่ จุดรองรับ C และ D 4.3 แท่งเหล็กมวล 50 kg ยึดโดยสายเคเบิลดังแสดงในรูปที่ 4.3 จงหาแรงดึงในสายเคเบิลทั้ง 3 เส้น (ข้อ 3 เลือกทำ 1 ข้อ) (40 คะแนน)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

รบกวนช่วยหน่อยค่ะ แนะเป็นแนวทางก็ได้🥺

1. อุบัติเหตุเกิดขึ้นบนเนินที่มีควาวมชัน 8 = 12° เมื่อรถคัน A ไถลลงมาชนรถ B ซึ่งจอดนิ่งอยู่ห่างออกไปเป็น = ระยะ d = 24 m โดยที่รถ A มีความเร็วต้น 18 m/s ถ้าพื้นถนนมีค่าสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตเป็น 0.8 และ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์เป็น 0.6 จงหาความเร็วขณะที่รถ A ไปชนรถ B 2. กล่องมวล 3 kg ไถลลงมาตามพื้นเอียงที่มีความยาว 1 m และทำมุม 300 กับพื้นราบ โดยกล่องเริ่มเคลื่อนที่ จากหยุดนิ่ง และ ให้ค่าความเสียดทานคงที่ระหว่างกล่องกับทุกพื้นสัมผัสเป็น 5 N จงหา a) อัตราเร็วของกล่องที่ปลายพื้นเอียง b) ระยะทางที่กล่องเคลื่อนที่ต่อไปบนพื้นราบ h = 5m mu B h d = 1m Vo = 0 m/s 3. ทรงกลมตันมวล M ไถลมาบนพื้นที่ไม่มีความผิด โดยมีอัตราเร็วคงที่ 44 ก่อนตกมาจากโต๊ะที่สูง 5 จากพื้น ถูก กระสุนมวล m ที่มีอัตราเร็ว 42 ยิงเข้าใส่และฝังอยู่ในมวล M จงหาระยะที่ทรงกลมตันเคลื่อนที่ลงมาถึงพื้น (d) Mul 0 = 30° d Mtm

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

คำนวนพิกัดของหม้อแปลง cascade ยังไงหรอครับ อย่าง 400 kva 400 kv 3 ตัว

ขั้นบันไดก็คือ ขดลวดสร้างเส้นฟลักซ์แม่เหล็กของหม้อแปลงตัวแรก จะต้องจ่ายกระแสให้กับหม้อ แปลงตัวต่อไปด้วย ฉะนั้นถ้ามีการต่อขั้นบันไดหลายๆ ขั้น หม้อแปลงตัวแรกก็จำเป็นต้องมีกำลังใหญ่ กว่าตัวที่มาต่อเพิ่มขึ้นต่อไป ถ้าใช้หม้อแปลงที่มีกำลังเท่ากันมาต่อขั้นบันได กำลังไฟฟ้าจ่ายออกที่ แรงดันสูง าหนดจะน้อยกว่าผลรวมกำลังของแต่ละตัว นั่นคือหม้อแปลงสามารถจ่ายกระแสได้น้อย กว่าที่กำหนด เช่น หม้อแปลงทดสอบ 400 kV 400kVA 1A 3 ตัวมาต่อขั้นบันได จะได้แรงดันรวมที่ กำหนด 1200 KV แต่จะเหลือกำลังเพียง 900 KVA และกระแส 0.75 A เป็นต้น 1 : ขดลวดแรงต่ำ หรือขดลวดสร้างฟลักซ์ aiman (low voltage or exciting) 2 : ขดลวดแรงสูง (high voltage winding) 3 : ขดลวดคาบเกี่ยว (coupling winding) รูปที่ 2-10 ขดลวดหม้อแปลงสำหรับต่อขั้นบันได การฉนวนหม้อแปลงเมื่อต่อแบบขั้นบันได 3 ขั้น ตามรูปที่ 2-11 จะเห็นได้ว่าหม้อแปลงตัวที่ 2 ซึ่งได้รับแรงดันสร้างเส้นฟลักซ์แม่เหล็กผ่านทางขดลวดต่อคาบเกี่ยวนั้น มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับแรงสูงของ ตัวแรก ฉะนั้นหม้อแปลงตัวที่ 2 นี้ จะต้องได้รับการฉนวน หรือตั้งอยู่บนฉนวนรองรับเท่ากับแรงดัน สูงของตัวแรก ดังในรูป 2-11 200 KVA 0000 400 KVA 3P +1. leee Hil leee 2P 300KVA U 2P ele leee reeeee P III มวน =U 2U 2 leee ถัง S.V 41 นวม - 2U รูปที่ 2-11 ไดอะแกรมการต่อหม้อแปลงทดสอบแบบขั้นบันได 3U กล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอทำได้มั้ยครับ

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 1-1 กำหนดให้โคมไฟมีน้ำหนัก 220 N ถูกแขวนโดยเส้นลวด 3 เส้น ซึ่งเชื่อมต่อกันโดยใช้แหวนที่จุด A ดังที่แสดงในรูป ที่ Prob. 1-1 จงหาค่ามุม 6 ที่ทำให้หน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ย (average normal stress) ในเส้นลวด AC เป็นสองเท่าของ หน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยในเส้นลวด AD และจงหาค่าหน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในเส้นลวดทั้งสอง 6.3 mm 1.20 m 0.90 m P V A รูปที่ Prob. 1-1 1-2 กำหนดให้โครงข้อหมุน (truss) มีลักษณะดังที่แสดงในรูปที่ Prob. 1-2 จงหาหน่วยแรงตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วน ต่างๆ ของโครงข้อหมุนพร้อมทั้งระบุด้วยว่าเป็นหน่วยแรงดึงหรือหน่วยแรงกดอัด เมื่อโครงข้อหมุนมีพื้นที่หน้าตัดดังต่อไปนี้ AAR = 960 mm², ABC = 516 mm², ua AAC AB = 385 mm² 1.20 m 0.90 m รูปที่ Prob. 1-2 E 45° B 8.9 mm 7.6 mm 1-3 ชิ้นส่วนต่างๆ ของโครงข้อหมุน ดังที่แสดงในรูปที่ Prob. 1-3 มีพื้นที่หน้าตัดเท่ากับ 806 mm ถ้ากำหนดให้หน่วยแรง ตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนใดๆ ของโครงข้อหมุนมีค่าได้ไม่เกิน 140 MPa จงหาค่าแรง P สูงสุด P รูปที่ Prob. 1-3 F 1.20 m 2.5 kN 7 B ›COS 45° D

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัย

สถิติ

4) (Tensile strength) ของ ผู้ผลิตกระดาษต้องการทราบว่าความเข้มข้นของไม้เนื้อแข็งมีผลต่อแรงดึง กระดาษหรือไม่ จึงสนใจศึกษาความเข้มข้นของไม้เนื้อแข็งในช่วงระดับ 5% ถึง 20% ผู้ผลิตจึงเลือก 5% 10% 15% และ 20% แล้วทำการทดลองกับตัวอย่างทั้งหมด 24 ตัวอย่าง และวัดแรงดึงของกระดาษ (หน่วยเป็น psi) ได้ดังตาราง จงทดสอบว่าความเข้มข้นของไม้ (Tensile strength) ของกระดาษหรือไม่ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 เนื้อแข็งมีผลต่อค่าเฉลี่ยของแรงดึง ระดับความเข้มข้นของไม้เนื้อแข็งที่ 1 7 8 15 11 9 10 ความเข้มข้นของไม้เนื้อแข็ง (%) 2 12 17 13 18 19 15 3 14 18 19 17 16 18 4 19 25 22 23 18 20

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัย

ช่วยเเสดงวิธีทำหน่อยนะคะ

1. มีกล่อง 2 กล่องทำจากวัสดุชนิดเดียวกัน วางอยู่บนพื้นปูนคอนกรีตเดียวกัน ผูกโยงกันด้วยเชือกเบา กล่องใบแรกมีมวล 2 kg ถ้าขายผู้หนึ่งออกแรงลากกล่องทั้งสองโดยออกแรง 50 N ที่กล่องมวล 1 kg ทำให้กล่องทั้งสอง อีกใบหนึ่งมีมวล 1 kg ดังรูป มีความเร่ง 3 m/s จงหา อ. วาด free body diagram ของกล่องทั้งสองใบ 6. แรงตึงในเส้นเชือกที่เชื่อมระหว่างกล่องทั้งสองใบ 6. แรงเสียดทานระหว่างพื้นกับกล่องแต่ละใบ 4. สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลน์ 2 kg (ทําข้อย่อยใดก่อนก็ได้) 1 kg F = 50 N 2. เด็กคนหนึ่งเล่นชิงช้า โดยจุดสูงสุดที่ชิงช้าแกว่งขึ้นไปได้ อยู่สูงจากพื้นดิน 1.45 m และจุดต่ำสุดอยู่สูงจากพื้นดิน 0.65 m อัตราเร็วสูงสุดของชิงช้าเป็นเท่าใด 3. กอล์ฟกับไมค์ มีมวลเท่ากันคือ 55 kg ทั้งสองต้องการพิชิตยอดเขาที่สูง 1,000 m (ในแนวดิ่ง) กอล์ฟเลือกที่จะเดินเส้นทาง A เพราะว่ามันน้อยกว่าโดยมีระยะเดินทางถึงยอดเขา 2,000 m ในขณะที่ไมค์ชอบความท้าทายใช้เส้นทาง B ซึ่งขึ้นมากและมี ระยะเดินทางถึงยอดเขาเพียง 1,500 m เท่านั้น ปรากฏว่ากอล์ฟใช้เวลา 2 ชั่วโมงถึงยอดเขา แต่ไมค์ใช้เวลาถึง 3 ชั่วโมง ให้หา งานของทั้งกอล์ฟและไมค์ในการพิชิตยอดเขาลูกนี้ (สมมติว่าไม่มีการสูญเสียพลังงานใดๆ ในระหว่างการเดินขึ้นเขา) และหา กําลังในการทํางานดังกล่าวของทั้งคู่ด้วย

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0