ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ🙏🏻💞

ชื่อ ทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกรดนิวคลีอิก คาสั่งที่ 2 พิจารณาข้อมูลที่กาหนดให้ต่อไปนี้ แล้วขีดถูกหน้าข้อที่ถูก และขีดผิดหน้าข้อที่ผิด 1. กรดนิวคลีอิกมีสารเป็นน้าตาลไรโบส เบสอินทรีย์ และหมู่ฟอสเฟต 2. พลลีนิวคลีโอไทน์มีสารองค์ประกอบเป็นประกอบน้าตาลดีออกซีไรโบส เบสอินทรีย์ และหมู่ 3. นิวคลีโอไซด์มีสารองค์ประกอบเป็นน้าตาลไรโบส เบสอินทรีย์ และหมู่ฟอสเฟต 4. RNA เป็นฟอสเฟตเอสเทอร์ของนิวคลีโอไทด์สายเดี่ยว 5. เบสที่พบใน RNA คือ อะดีนีน กวานีน ไซโตซีน ไทมีน และยูราซิล 6. DNA พบในนิวเคลียสเท่านั้น ส่วน RNA พบในไซโทพลาซึมและนิวเคลียร์ 7. RNA ทาหน้าที่ควบคุมการสร้างโปรตีนไปทาหน้าที่ต่าง ๆ 8. ในนิวเคลียสของเซลล์จะพบแต่ DNA เท่านั้น 9. ในไซโทพลาซึมจะพบแต่ RNA ไม่พบ DNA 10. RNA และ DNA ทาหน้าที่ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 11. เกลียวคู่ของสาย DNA ยึดเหนี่ยวกันตรงเบสด้วยพันธะไฮโดรเจน 12. เบสยูราซิลไม่พบใน RNA 13. เบสไทมีนไม่พบใน DNA 14. พอลินิวคลีโอไทด์เกิดจากนิวคลีโอไทด์มาเชื่อมต่อกันตรงตาแหน่งระหว่างหมู่ฟอสเฟตและน้าตาล 15. เบสไทนของสายพอลินิวคลีโอไทด์สายหนึ่งจะยึดเหนี่ยวกับเบสของสายพอลินิวคลีโอไทด์อีกสาย หนึ่งในเกลียวคู่ของ DNA ตรงตาแหน่งเบสอะดินีน 16. RNA เป็นฟอสเฟตเอสเทอร์ของนิวคลีโอไทด์สายเดี่ยว 17. เบสที่พบใน RNA คือ อะดีนีน กวานีน ไซโตซีน ไทมีน และยูราซิล 18. DNA พบในนิวเคลียสเท่านั้น ส่วน RNA พบในไซโทพลาซึมและนิวเคลียส 19. RNA ทาหน้าที่ควบคุมการสร้างโปรตีนไปทาหน้าที่ต่าง ๆ 20. RNA ประกอบด้วยอินทรีย์เบสคือ A U C G ส่วน DNA ประกอบด้วยอินทรีย์เบสคือ A TCG

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่า เป็นเรื่องพันธุกรรม (วิชาชีวะ)🥹

แบบฝึกหัดพันธุกรรม 1. ในการผสมพันธุ์ข้าวโพดเมล็ดสีเหลืองกับข้าวโพดเมล็ดสีขาว ปรากฏว่าได้รุ่นลูกที่มีเมล็ดสีเหลืองทั้งหมด ต่อมานำต้นข้าวโพดรุ่นลูกนี้ผสมกันเอง พบว่าในรุ่นต่อมา บางส่วนเป็นข้าวโพดเมล็ดสีเหลือง บางส่วนเป็น ข้าวโพดเมล็ดสีขาว แสดงว่าลักษณะใดเป็นลักษณะเด่นของข้าวโพดพันธุ์นี้ - 2. การผสมพันธุ์ถั่วต้นสูงที่เป็นเฮตเตอโรไซกัส กับถั่วต้นเตี้ย (กำหนด T = สูง t = เตี้ย) ลูกที่เกิดมาจะมีจีโนไทป์ (Genotype) กี่แบบ อย่างไรบ้าง 3. ถ้านำต้นถั่วฝักสีเขียวที่เป็นพันธุ์แท้ ผสมกับต้นถั่วฝักสีเหลือง (กำหนดให้ G = ผักสีเขียว g = ฝักสีเหลือง) จะได้ลูกที่มีฟีโนไทป์ (Phenotype) แบบ อย่างไรบ้าง 4. สิ่งมีชีวิตที่มีจีโนไทป์ AaBBCC จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปแบบจีโนไทป์แตกต่างกันได้กี่แบบ อย่างไรบ้าง 5. ลักษณะดอกสีม่วง (A) และเมล็ดกลม (R) เป็นลักษณะเด่น ลักษณะดอกสีขาว (a) เมล็ดขรุขระ (1) เป็น ลักษณะด้อย เมื่อผสม AaRR X AaRr แล้วได้ลูกทั้งหมด 320 ต้น จะมีลูกพันธุ์ทางจำนวนเท่าไร 6. เด็กบางคนเกิดมาพร้อมกับลักษณะบางอย่างที่ถูกควบคุมโดยยีนด้อย เช่น ผมตรง สายตาสั้น เป็นต้น ทั้งที่ พ่อและแม่ไม่ปรากฏลักษณะเช่นนั้น จงอธิบายว่าเป็นเพราะเหตุใด 7. เด่นชัยเป็นคนที่มีลักยิ้ม ซึ่งเป็นลักษณะเด่น แต่พ่อของเด่นชัยไม่มีลักยิ้ม โอกาสที่ลูกสาวของเด่นชัยจะมีลักยิ้ม คิดเป็นร้อยละเท่าไร และภรรยาของเด่นชัยก็ไม่มีลักยิ้ม 8. แม่มีเลือดหมู่ 9 พ่อมีเลือดหมู่ AB ลูกของพ่อแม่คู่นี้จะมีหมู่เลือดใดได้บ้าง 9. ผู้หญิงคนหนึ่งแต่งงานสองครั้ง สามีคนแรกของเธอมีเลือดหมู่ A และลูกจากการแต่งงานครั้งแรกมีเลือดหมู่ - ส่วนสามีคนที่สองมีเลือดหมู่ B และลูกจากการแต่งงานครั้งที่สองมีเลือดหมู่ AB หมู่เลือดของผู้หญิงคน นี้คือหมูโด 10. โรคตาบอดสี (Color Blindness) เป็นความผิดปกติทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมโดยยีนด้อยบนโครโมโซม X ในครอบครัวหนึ่ง พ่อตาบอดสี แม่ตาปกติ ลูกชายคนแรกตาบอดสี ถ้าลูกคนต่อไปเป็นผู้หญิง โอกาสที่ลูกสาว จะตาบอดสีคิดเป็นร้อยละเท่าไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สุขศึกษา มัธยมปลาย

#ช่วยหน่อยค่ะ ต้องส่งวันจันทร์ที่จะถึงนี้ค่ะ

คำชี้แจง ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย X หน้าข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดเป็นอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาท 1. สมองและไขสันหลัง 2. สมอง ไขสันหลัง และเซลล์ประสาท 3. สมองและเส้นประสาท 4. สมอง 2. ระบบประสาทของมนุษย์แบ่งออกเป็นส่วน 1. 1 ส่วน คือ ระบบประสาทส่วนกลาง 2. 2 ส่วนคือ ระบบประสาทสมองและไขสันหลัง 3. 2 ส่วนคือ ระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลาย 4. 3 ส่วนคือ ระบบประสาทส่วนกลาง สมองและ ไขสันหลัง 3. สมองส่วนหน้าประกอบด้วยสมองส่วนใดบ้าง 1. ซีรีบรัม ทาลามัส ไฮโพทาลามัส 2. ซีรีบรัม ซีรีเบลลัม พอนส์ 3. ซีรีบรัม ซีรีเบลลัม ไฮโพทาลามัส 4. ซีรีบรัม ทาลามัส ซีรีเบลลัม 4. สมองส่วนใดทำหน้าที่ควบคุมด้านความคิด ความจำ 1. พอนส์ 2. ทาลามัส 3. เซรีบรัม 4. ไฮโพทาลามัส 5. ส่วนใดในอวัยวะสืบพันธุ์เพศชายที่ทำหน้าที่ในการ ผลิตตัวอสุจิ 1. อัณฑะ 2. ถุงเก็บตัวอสุจิ 3. ท่อนำตัวอสุจิ 4. กระเพาะปัสสาวะ 6. ฮอร์โมนเพศชาย มีชื่อเรียกว่าอะไร 1. เทสทาสเซอโรน 2. เทสทอสเทอโรน 3. เอสโทรเจน 4. โพรเจสเทอโรน 7. ส่วนใดในอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิงที่ทำหน้าที่ในการ ผลิตไข่ 1. รังไข่ 2. ท่อนําไข่ 3. มดลูก 4. ช่องคลอด 8. ถ้าเพื่อนทะเลาะวิวาทกันแล้วนักเรียนอยู่ในเหตุการณ์ นั้นควรทําอย่างไร 1. พูดให้เพื่อนปรับความเข้าใจกัน 2. เดินเลี่ยงออกไปโดยไม่พูดอะไร 3. พูดยุยงให้เพื่อนทะเลาะกันยิ่งขึ้น 4. พูดตักเตือนเพื่อน 9. ถ้านักเรียนเป็นหัวหน้างานกลุ่มและมีความคิดเห็นไม่ ตรงกับเพื่อน ควรปฏิบัติอย่างไร 1. ทำตามเพื่อนที่เรียนเก่งที่สุดในกลุ่ม 2. ทำตามเหตุผลที่ดีของคนในกลุ่ม 3. ทําตามใจตนเอง 4. ทำตามเพื่อนที่เราสนิท 10. ข้อใดเป็นวิธีการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง 1. เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร 2. ตาต่อตาฟันต่อฟัน 3. ขิงก็ราข่าก็แรง 4. แรงมาแรงไป คำถามข้อ 11 - 20 อยู่ในหน้ากระดาษคำตอบ (นางสาวสุภัทรธิดา ปักษา) ผู้ออกข้อสอบ (นางสาวสุภัทรธิดา ปักษา) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/33