ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไท... อ่านต่อ

ใบงานที..... อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภัสพรรณ เลาสุทแสน - สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเราได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23,38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีมลดส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งแหกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุด ราคาน้าเช้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข่าวสารที่ทันสมัย คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ต้องการอยากทราบคำตอบของโจทย์เรื่องพริกไทย

อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภีสุพรรณ เลาสุทแสน - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ อาน เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคาน้ำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23.38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีผลผลิตส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งผลกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุดคือราคานำเข้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย ไปทาน คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ จำนวน 20 รายโสผู้บริโภค ระโย 2006 207 คนในคร โลก 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? - คาคาชน ที่เกี่ยว 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ?ราคาที่ผลิต (1) ต้นตระก 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ) เทคโนโว เกมติม 28294 บริ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สังคมศึกษา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะะ🥹🥹

1. แบบทดสอบ คำชี้แจง เอง เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว ข้อใดเป็นการพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ก. การสั่งซื้อสินค้าจากที่อื่นมาใช้แทนการผลิตเอง ข. การนำเทคโนโลยีและเครื่องจักรที่ทันสมัยมาผลิตสินค้า ค. การนำวัสดุและทรัพยากรที่มีในท้องถิ่นมาเป็นทุนในการผลิต ง. การผลิตสินค้าในรูปของบริษัทเพื่อให้เป็นระบบและได้มาตรฐาน วิชา สังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ์ 2. ข้อใดคือแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ก. ลงทุนน้อย คุ้มค่า ผลตอบแทนสูง ข. เรียบง่าย เป็นระบบ ได้กำไรสูงสุด ค. มีขั้นตอน เป็นระบบ ได้กำไรสูงสุด ง. ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด 3. รู้รักสามัคคี เป็นแนวทางในการแก้ไขและพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คำว่า “รู้” หมายถึงข้อใด Wron ก. เข้าใจชัดเจนถึงสาเหตุและแนวทางแก้ไข ข. ผู้นำชุมชนต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ในทุก ๆ ด้าน ค. ทุกคนในชุมชนได้รับการศึกษาในระดับปริญญาตรี ง. สามารถแก้ไขปัญหาตามตำราและทฤษฎีที่ได้เรียนรู้มา หน้า 4. แผนพัฒนาฯ ฉบับใดได้อัญเชิญแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นปรัชญานำทางในการพัฒนา และบริหารประเทศ ก. ฉบับที่ 1 ข. ฉบับที่ 5 ค. ฉบับที่ 7 ง. ฉบับที่ 9 5. ข้อใดไม่ใช่คุณลักษณะของเศรษฐกิจพอเพียง ก. ความมีเหตุผล ข. ความพอประมาณ ค. ความขยันและอดทน ง. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี d be 4 มศ 2

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สังคมศึกษา มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ

ตอนที่ 1 คำชี้แจง : ให้นักเรียนขีด / ลงในช่องข้อความที่สัมพันธ์กับสถาบันการเงินที่กำหนด (ส3.2 ม.1/1) บทบาทหน้าที่ รับฝาก ให้กู้ เงินกู้ ส่งเสริ ส่งเสริม ส่งเสริม มการ การมีที่ ธุรกิจ ส่งออก การขาย สมาชิก กองทุน สถาบัน เงิน เกษตร อยู่อาศัย | และนำเข้า กรมธรรม์ ถือหุ้น รวม การเงิน 1. ธนาคารพาณิชย์ 2. ธนาคารออมสิน 3. ธนาคารเพื่อ การเกษตรและ สหกรณ์ การเกษตร 4. ธนาคารอาคาร สงเคราะห์ 5. ธนาคารอิสลาม แห่งประเทศไทย 6. ธนาคารเพื่อการ ส่งออกและนำเข้า แห่งประเทศไทย 7. บริษัทเงินทุน 8. บริษัท เครดิตฟองซิเอร์ 9. บริษัทหลักทรัพย์ 10. บริษัทหลักทรัพย์ จัดการกองทุนรวม 11. บริษัทประกันชีวิต 12. สหกรณ์ออมทรัพย์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยครับ ทำไมาเป็น

แบบฝึกทักษะการคิดคำนวณ ที่ 1 ดอกเบี้ยทบด้น 7 1. ฝากเงินสดเริ่มต้นที่ 100,000 บาท ไว้กับสหกรณ์ออมทรัพย์ครู โดยสหกรณ์ออมทรัพย์ครู ให้ อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 2.5 ต่อปี โดยคิดอัตราดอกเบี้ยทบต้น ดังนี้ 1.1 อัตราดอกเบี้ยทบต้น ทุก 3 เดือน วิธีทำ จากโจทย์จะได้ว่า P = ........ ) K = จะได้ เงินฝากรวม เมื่อฝากไป ปี (1-6) 1.2 อัตราดอกเบี้ยทบต้น ทุก 4 เดือน วิธีทำ และ r = L จากโจทย์จะได้ว่า P = K = ปี = P จะได้ เงินฝากรวม เมื่อฝากไป ก 1.3 อัตราดอกเบี้ยทบต้น ทุก 1 เดือน วิธีทำ และ r = K = n = จากโจทย์จะได้ว่า P = ... ปี - ()" จะได้ เงินฝากรวม เมื่อฝากไป = |

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มัธยมปลาย

มีใครช่วยได้บ้างคะ อย่างที่ 59 ต้องยกกำลังยังไงคะ คือยกลังแล้วไม่ได้คำตอบเหมือนในชีทเลย ปัญหาก็คือยกกำลังไม่เป็นค่ะ ต้องบวกในวงเล็บก่อนแล... อ่านต่อ

1จต ๑อ(วงทัวด ปานวาดตฝากเงินกับธนาคารแห่งหนึ่งซึ่งให้อัตราตอกเบี้ย 2.3% ต่อปี โดย 2 อ 9 ในดอีก แบบทบต้นทุก 6 เดือน ถ้าปานวาดต้องการให้มีเงินในบัญชี 356 000 บาท ข้างหน้า ปานวาดต้องฝากเงินต้นเท่าไร ตัวอย่างที่ 59 ๓ ซ๊ ด์ เอกเป็นสมาชิกของสหกรณ์ออมทรัพย์และ ะได้กู้เงินจากสหกรณ์ออมทรัพย์จํานวน 2 2ยอด ซึ่งยอดแรกต้องชําระคืน 28,654.56 บาท ในอีก 2 ปีช้างหน้า และยอดที่สองต้อง ชําระคืน 39,267.27 บาท ในอีก 3 ปีข้างหน้า ล้ ถ้าสหกรณ์ออมทรัพย์คิดอัตราดอกเบี้ย 6.9% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้นทุก 4 เดือน ให้หาจํานวนเงินทั้งหมดที่เอกกู้ จากสหกรณ์ออมทรัพ ย์ 1 == 6 | วิธีทํา จากโจทย์ สหกรณ์ออมทรัพย์คิดอัตราดอกเบี้ย 6.9% ต่อปี โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบต้น จะได้ว่า ในเวลา 1 ปี สหกรณ์ออมทรัพย์คิดดอกเบี้ยทั้งหมด 1 - -2.3 - 0.023 | | ทุก 4 เดือน | บึ้ 12 - 3 งวด 6.9% เชือ = 2.3ร9 = 3 3% หรือ [ ซ๊อ และอัตราดอกเบียแต่ละงวดเท่ากับ ดง 8 โด เขียนเส้นเวลาแสดงจํานวนเงินที่เอกกู้จากสหกรณ์ออมทรัพย์ได้ 1 2๕ 3 0 ก 28,654.56 39,267.27 9 "37ก11 -9 28,654.56(1 + 0.023) 39,267.27(1 + 0.023) แ เ๑2ล 28,654.56, | = 0.023 และก= 2 % 3 เนื่องจาก ก7= 28,654.56(1 + 0.023)* จะได้ ธิง = 495 000 =ะ ยอดที่ 1 ลําดับและอนุกรเน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ 🙏🙏🙏

. ลึดกใดซี่! 4. จงพิจารณาว่าคําถามทางสถิติในแต่ละข้อต่อไปนี้ จะใช้วิธีการ/เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวเลือกใดที่เหมาะสม ละทัท บ 2 2เมง ส ผจญ 9 (ในแต่ละข้อสามารถใช้ได้มากกว่าหนึ่งวิธี และแต่ละวิธีสามารถใช้ขัได้) 9ซัห5 (5 คะแนน) ปริมาณการเกิดอุบัติเหตุในช่วงเทศกาลปีใหม่เป็นเท่าใด เวลาที่นักเรียนในห้องนี้ใช้เดินทางมาโรงเรียนเป็นเท่าใด .. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการบริการห้องสมุดของโรงเรียนเป็นอย่างไร ปริมาณสารกันบูดที่ใส่ในขนมปังที่วางขายในสหกรณ์โรงเรียนเป็นเท่าใด จํานวนลูกค้าที่ใช้บริการโทรศัพท์มือถือของค่ายต่าง ๆ เป็นเท่าใด ก. การสังเกต 'ข. แบบสอบถาม ค. แบบบันทึก. ง. แบบสัมภาษณ์ จ. การทดลอง ฉ. ข้อมูลที่เก็บไว้แล้ว

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ดนตรี มัธยมต้น

ช่วยสรุปหน่อยค่ะจะส่งอาจารณ์😚😋

กลุ่มสตริงเป็นองค์ประกอบดนตรีสําหรับห้าผู้เล่น สตริง ในฐานะที่เป็นส่วนขยา ยของวงสตริง (สอง ไวโอลินเป็นวิโอลาและเซลโล ) ซึ่งเป็นกลุ่มสตริง รวมถึงเครื่องดนตรีที่ห้าสตริงมักจะเป็นจําพวกที่ สอง (ที่เรียกว่า "วิโอล่ากลุ่ม") หรือเชลโล่ที่สอง (เป็น "เชลโล่ กลุ่ม ) หรือบางครั้งดับเปิลเบส ตัวอย่างที่เด่นของคลาสสิก "ศุน[ท16ธ1ร วิโอลา" ใน ขซ่ร่ รูปแบบการเคลื่อนไหวรวมถึงผู้ที่สี่ของโวล์ฟกังอะ ับ มาเดอุสโมซาร์ท ตัวอย่างอื่น ๆ ที่เขียนโดยนักแต่ง เพลงรวมทังฮันเนสบราห์มส์และเฟลิกซ์ ใไทไอทส6ไรรอทท ภซ่- 3 ที่มีชื่อเสียง "เชลโล่กลุ่ม" คือฟรานซ์ซูเบิร์ต 5 ดุนเท161 ใน 0 ที่สําคัญ /เท1อท[ทถิง๐ไล์แของกลุ่ม สหกรณ์77ใช้ดับเบิลเบสและย๊[๓6 /ฝ@[ท6 !งล๐หแทานร! ที่ใด่งดังของ !|02ลก อาจจะเล่นด้วย เครื่องมือนี้ (ดับเบิลเบสเป็นตัวเลือก) ทางเลือกเพิ่มเติมรวมถึงคลาริเน็ตหรือเปียโน (ดู กลุ่มปี่ชวา , เปียโนกลุ่ม )) และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง อย่างใกล้ชิดแซมเบอร์มิวสิคประเภท ได้แก่ วง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0