ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ใครก็ได้ช่วยด้วยไม่รู้อะไรเลย

1. ปฏิกิริยาไม่ใช้แสงเกิดขึ้นที่ออร์แกนเนลล์ได ส่วนใดของออร์แกนเนลล์ THA 2. สารตั้งต้นในวัฏจักรคัลวิน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ของวัฏจักรคัลวิน คือ 3. RuBiSCO เป็นเอนไซม์ที่มีสารตั้งต้น คือ เกิดปฏิกิริยาใด.. 4. ขั้นปฏิกิริยา reduction เป็นการเปลี่ยนสารใด โดยมีการเปลี่ยนหมู่ฟังก์ชันจาก 5. น้ำตาลตัวแรกของวัฏจักรคัลวิน คือ ในส่วนของออร์แกนเนลล์ คือ และเกิดปฏิกิริยาที่ออร์แกนเนลล์ 6. ในขั้นตอน regeneration เป็นการเปลี่ยนสารใด 7. ปฏิกิริยาไม่ใช้แสง จำเป็นต้องใช้แสงหรือไม่ เพราะเหตุใด D 8.1 นํ้าตาลกลูโคสเกิดได้มากที่สุด ใช้ NADPH+H จำนวน...... ใช้ NADPH จำนวน... 8.2 อักษร E คือ... 60 8.3 อักษร C คือ.. RuBP .......................โมเลกุล อักษร G คือ... ทํางานได้โดย.. 8. จงเขียนวัฏจักรคัลวิน พร้อมตอบคำถาม เมื่อมีสารตั้งต้นให้ดังนี้ 0 จำนวน 30 โมเลกุล NADPH+H จำนวน 62 โมเลกุล, ATP จำนวน 100 โมเลกุล NADPH จำนวน 20 โมเลกุล CO จำนวน 36 โมเลกุล PGA ผลิตภัณฑ์ คือ Calvin cycle ใช้จํานวน เกิดขึ้นในขั้นต เช่น G เป็น ซึ่งจะสามารถผลิตเป็น หรือ จะเก็บสะสมไว้ในรูปของ B น.ส. ธนวรรณ มา ม.5/1 PGAL เป็น เป็น Glucose โมเลกุล ใช้ ATP จำนวน.......... โมเลกุล CO, จํานวน.... โมเลกุล ใช้ 0 จำนวน...................... โมเลกุล โมเลกุล โมเลกุล แล้วจะเกิดสาร A คือ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ใครรู้บ้างงับ พี่ๆ 😢

ขั้นเนื้อโลกชั้นล่างสุดส่วนใหญ่เป็นของแข็ง มีอุณหภูมิและความตันสูงกว่าชั้นเนื้อโลกส่วนบน ค. ชั้นเนื้อโลกชั้นบนส่วนใหญ่เป็นของแข็ง มีอุณหภูมิและความดันสูงกว่าชั้นเนื้อโลกส่วนล่าง ข. แก่นโลกชั้นนอกส่วนใหญ่เป็นของเหลว มีอุณหภูมิและความดันสูงกว่าแก่นโลกชั้นใน ก. แก่นโลกชั้นในส่วนใหญ่เป็นของเหลว มีอุณหภูมิและความดันสูงกว่าแก่นโลกชั้นนอก แบบทดสอบหลังเรียน รายวิชาวิทยาศาaตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง (Earth Chenges) ชื่อ-สกุล คะแบบ 1) ข้อใดกล่าวถึงโครงสร้างภายในโลกได้ถูกต้อง ชั้น เลยที่ ง. 2) เปลือกโลกทวีป (Continental Crust) มีแร่ธาตุใดเป็นองค์ประกอบหลัก ก. ในโตรเจน ซิลิคอน ข ซิลิคอน แมกนีเซียม ค. อลูมิเนียม ซิลิคอน 3) เนื้อโลกชั้นบนรวมกับเปลือกโลก เรียกว่า ง. ออกซิเจน ซิลิคอน ก, ธรณีภาค ข. ฐานธรณีภาค ง. แผ่นธรณี ค. แมนเทิล ข. แมกมาเมื่อไหลสู่ผิวโลกเรียกว่า ลาวา ง. แมกมาและลาวาเป็นหินหนืดที่ไหลพุ่งขึ้นสู่ผิวโลก 5) บริเวณหุบเขาทรุดตัวตามแนวสันเขากลางมหาสมุทรมีการเคลื่อนตัวของแผ่นธรณีภาคในลักษณะใดที่สำคัญ 4) ข้อใดถล่าวถูกต้องเกี่ยวกับแมกมาและลาวา ก. ลาวาเมื่อไหลสู่ผิวโลกเรียกว่า แมกมา ค. แมกมาและลาวามีส่วนประกอบแร่ธาตุต่างกัน ก. เคลื่อนตัวแยกออกจากกัน ข. เคลื่อนตัวเข้าหากัน ค. เคลื่อนตัวมุดลงไปใต้อีกแผ่น 6) หลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนว่าทวีปต่าง ๆ ในปัจจุบันแต่เติมเป็นผืนแผ่นเดียวกันคือข้อใด ก. รอยต่อของชั้นเนื้อโลก ง. เคลื่อนตัวเฉือนกัน ข. รอยต่อของชั้นแก่นโลก ง. รอยต่อของชั้นเปลือกโลก ค. รอยต่อของแผ่นธรณีภาค 7) ดินดอนสามเหลี่ยมส่วนใหญ่เกิดบริเวณปากแม่น้ำ เพราะเหตุใด ก. มีพื้นที่สำหรับการตกตะกอนสะสมตัวกว้าง ข. ทางน้ำเปลี่ยนความเร็ว ค, มีแรงปะทะของคลื่นเคลื่อนเข้ามากระทบฝั่ง ทำให้ตะกอนแผ่กระจายและสะสมอยู่ 3. ถูกทุกข้อ 8) การผุพังอยู่กับที่จะเกิดขึ้นเร็วในอุณหภูมิอากาศและภูมิอากาศแบบใด ก. อุณหภูมิสูง ภูมิอากาศดิบชื้น ค. อุณหภูมิสูง ภูมิอากาศแห้งแล้ง 9) ดินในชั้นใดที่มีฮิวมัสอยู่เป็นจำนวนมาก ข. อุณหภูมิต่ำ ภูมิอากาศดิบชขื้น ง. อุณหภูมิต่ำ ภูมิอากาศแห้งแล้ง ง. ชั้น C ค. ชั้น B ข. ชั้น A ก. ชั้น 0 10) ดินที่เหมาะแก่การเพาะปลูกมากที่สุดควรมีสีใด ข. สีแดง สีน้ำเงินปนเขียว ง. สีดำ ค. ก. สีน้ำตาล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ขอความรู้หน่อยค่า ช่วยหน่อยได้มั้ยคะ🙏✨ #ขอบคุณล่วงหน้าด้วยนะคะ🙏🙏

1. เพราะเหตุใดเราจึงไม่มีโอกาสได้พบเห็นอะมีบาขนาด 200 กิโลกรัมเดินอยู่ตามท้องถนน 2. จากการศึกษาเซลล์ที่ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน พบว่ามีไมโทคอนเดรีย กอลจิบอดี และ ร่างแหเอนโดพลาซึมชนิดผิวขรุขระ เป็นจำนวนมาก นักเรียนคิดว่าเซลล์ดังกล่าวนี้น่าจะทำหน้าที่อะไร ในร่างกายมนุษย์ 3. ไชยาไนด์ (cyanide) เป็นสารพิษที่สามารถจับกับเอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการถ่ายทอดอิเล็กตรอนใน กระบวนการหายใจระดับเซลล์ได้อย่างถาวร ทำให้ร่างกายเกิดภาวะเป็นพิษของไซยาไนด์ การจับของ ไชยาไนด์ทำให้เอนไซม์ไม่สามารถถ่ายทอดอิเล็กตรอนไปให้กับตัวรับอิเล็กตรอนที่อยู่ข้างเคียงได้ นักเรียนคิดว่าสภาวะดังกล่าวจะส่งผลอย่างไรต่อกระบวนการสร้าง ATP และส่งผลอย่างไรต่อร่างกาย มนุษย์ (มี 2 คำถามนะครับ อธิบายให้ครบ) 4. กรดนิวคลีอิกมีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกับโครงสร้างของ ATP แต่เราพบว่าร่างกายของเราไม่มีการใช้ กรดนิวคลีอิกเป็นแหล่งพลังงาน คำถามคือเพราะเหตุใดร่างกายของเราจึงไม่ใช้กรดนิวคลีอิกเป็นแหล่ง พลังงานเป็นอันขาด 5. สมมติว่าเราสามารถวัดปริมาณ DNA ภายในเซลล์หนึ่งได้ ถ้าเรารู้ปริมาณ DNA ในการแบ่งเซลล์ระยะ G1 แล้ว นักเรียนคาดว่าปริมาณ DNA ที่วัดได้จากเซลล์ในระยะต่าง ๆ ของวัฏจักรเซลล์จะมีค่าเป็น เท่าใด จงอธิบายวิธีการ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

สอบถามผู้รู้ค่ะ ช่วยเราหน่อยค่ะ

ใบงาน เรื่อง ปฏิกิริยาแสง ตอนที่ 1 การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร คำชี้แจง : พิจารณาภาพ แล้วนำตัวอักษรไปเติมลงในช่องว่างหน้าข้อความที่กำหนดให้ Photosynterm Photosyatem 1 F Eectron trาsport G A D B 1. HyO 2. Proo 3. Hydrolysis 4. ADP + P, 3 ATP 5. Pe60 6. NADP" + H" 3 NADPH 7. Ferredoxin ตอนที่ 2 การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักร คำชี้แจง : พิจารณาภาพและนำตัวอักษรหน้าข้อความที่กำหนดให้ไปเติมลงในกล่องให้ถูกต้อง ก. อิเล็กตรอนถูกส่งต่อไปยัง ไซโทโครมคอมเพล็กซ์ ข. อิเล็กตรอนถูกส่งกลับมายังระบบ Photosyste แสง 1 Electron transport ค. เกิดการสังเคราะห์พลังงานงาน ATP และ NADPH ง. แสงกระตุ้นระบบแสง เกิดการ ถ่ายทอดอิเล็กตรอนไปยังเฟอริ ดอกซิน จ. เกิดการสังเคราะห์พลังงานเพียง ATP เท่านั้น บ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/4