ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

การบัญชี มหาวิทยาลัย

ช่วยหน่อยค่ะทำไม่เป็น🥹🥹

แบบฝึกหัดครั้งที่ 3 การบริหารเงินทุนหมุนเวียน จากงบการเงิน ปี 2560 ของ บริษัท จินดามณี จำกัด ข้างล่างนี้ หากยอดขายประกอบไปด้วยยอดขายเงิน สด 20% และยอดขายเงินเชื่อ 80% และกำหนดให้หนึ่งปีมี 360 วัน จงคำนวณหา ข้อ 1-6 บริษัท จินดามณี จำกัด งบกำาไรขาดทุนปี 2560 หน่วย:พันบาท รายได้จากการขาย 400,000 หัก ต้นทุนขาย 320,000 กําไรขั้นต้น 80,000 ก ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน 40,000 กําไรจากการดำเนินงาน 40,000 หัก ต้นทุนทางการเงิน 4,000 กําไรก่อนภาษีเงินได้ 36,000 หัก ภาษีเงินได้ (20%) 7,200 กําไรสุทธิสำหรับปี 28,800 บริษัท จินดามณี จำกัด งบแสดงฐานะการเงิน (บาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 หน่วยพันบาท สินทรัพย์ เงินสด 24,000 เงินลงทุนระยะสั้น 16,000 ลูกหนี้การค้า 48,000 สินค้าคงเหลือ 64,000 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 208,000 รวมสินทรัพย์ทั้งสิ้น 360,000 หนี้สินและทุน เจ้าหนี้การค้า 32,000 ภาษีเงินได้ค้างจ่าย 1200 ตั๋วเงินจ่าย 27,200 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 13,600 หนี้สินระยะยาว 72,000 หุ้นสามัญ 120,000 กำไรสะสม 94,000 หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้นรวม 360,000 1. เงินทุนหมุนเวียน (Working capital) เงินทุนหมุนเวียน = สินทรัพย์หมุนเวียนรวม 2. เงินทุนหมุนเวียนสุก (Networking capital เงินทุนหมุนเรือนสุกร - นท พ บุนเวียน - เ ดิ น ทุนเรียน Q A

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มหาวิทยาลัย

เรื่องจลนศาสตร์เคมี

ข้อสอบเรื่องจลนศาสตร์เคมี 1) ปฏิกิริยาระหว่าง diethylhydrazine และ iodine เกิดปฏิกิริยาดังนี้ (C2H5)2(NH)2 (l) ) + I2 (aq) → (C₂H5)2(N₂ (l) ) + 2HI (aq) เมื่อศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาของปฏิกิริยานี้โดยศึกษาการจางลงของสีม่วงของสาร I ที่อุณหภูมิ 25 °C การศึกษาดังแสดงในตารางดังนี้ (6 คะแนน) การทดลองครั้งที [(C2H5)2(NH)2] M [12], M อัตราการเกิดปฏิกิริยา, Ms 1 1 0.150 0.250 1.08 x 10 4 2 0.150 0.362 1.56 x 10 4 3 0.200 0.400 2.30 x 10 4 4 0.300 0.400 3.44 x 10 4 1.1) จงคำนวณหาอันดับของปฏิกิริยา เมื่อเทียบกับ (C2Hs) (NH), และเมื่อเทียบกับ 12 และคำนวณหา อันดับรวมของปฏิกิริยา (overall order) 1.2) จากอันดับของปฏิกิริยาที่คำนวณได้ จงเขียนกฎอัตรา (rate law) ของปฏิกิริยานี้ 1.3) จงคำนวณค่าคงที่อัตราของปฏิกิริยา (k : rate constant) ที่อุณหภูมิ 25 °C พร้อมทั้งระบุหน่วย = = 1.4) จากการคำนวณข้อ 1.1 - 1.3 ถ้าทำการทดลองโดยใช้ [(C2H5) (NH)2] มีค่า = 0.500 M และ _ [I2] = 0.900 M จงคำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยานี้ ซึ่งได้ข้อมูล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย

1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไท... อ่านต่อ

ใบงานที..... อุปสงค์ อุปทานพริกไทยก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ผกาพรรณ ศรลัมพ์, ภัสพรรณ เลาสุทแสน - สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การศึกษาอุปสงค์ อุปทานพริกไทย ก่อนและหลังการเปิดตลาดภายใต้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบสถานการณ์การผลิต และการตลาด รวมทั้งวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออุปสงค์ และอุปทานในประเทศทั้งก่อนและหลังการเปิดเสรีทางการค้า รวมถึงคาดคะเนอุปสงค์และอุปทานพริกไทย เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาให้พริกไทยยังคงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเราได้อย่าง ยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการพริกไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติได้แก่ ราคาขายปลีก และราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ปัจจัยที่มีผลต่อผลผลิตพริกไทยได้แก่ ราคาพริกไทยที่เกษตรกรขายได้ และอัตรา ค่าจ้างแรงงาน ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ ได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยจากไทยและ ราคานำเข้าพริกไทยจากเวียดนาม ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการนำเข้าได้แก่ ราคานำเข้าพริกไทยเมล็ด ราคาขายส่งและ อัตราภาษีนำเข้า ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อราคาที่เกษตรกรขายได้ ได้แก่ ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากการคาดคะเน ในช่วงปี 2553-2557 พบว่า ความต้องการใช้ มีอัตราการเพิ่มขึ้นมากที่สุด เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 12.22 รองลงมาได้แก่ ราคาที่เกษตรกรขายได้และปริมาณการนำเข้า เฉลี่ยต่อปีร้อยละ 11.73 และ 2.27 ตามลำดับ ส่วนปริมาณการผลิต และความต้องการนำเข้าพริกไทยของต่างประเทศ มีอัตราลดลงค่อนข้างมากเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 19.86 และ 23,38 ตามลำดับ ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีการค้าพริกไทยคือ ในปี 2553 มีมลดส่วนเกินอยู่ 344 ตัน หลังจาก นั้นในช่วงปี 2554-2557 ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการใช้อยู่ 3,185 ตัน 2,298 ตัน 1,171 ตัน และ 2,257 ตัน ตามลำดับ แต่จากอัตราการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น คาดว่าจะบรรเทาการขาดแคลนผลิตได้ในระดับหนึ่งและพบว่า ปัจจัย ภาษีส่งผลต่อการนำเข้าค่อนข้างน้อย โดยมีค่าความยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 0.12 แสดงว่าการเปิดเสรีการค้า พริกไทยส่งแหกระทบต่อการนำเข้าไม่มากนัก แต่ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำเข้ามากที่สุด ราคาน้าเช้า โดยมีค่าความ ยืดหยุ่นต่อการนำเข้าเท่ากับ 2.15 ดังนั้น เพื่อบรรเทาการขาดแคลนผลผลิต รัฐบาลควรดำเนินนโยบายวางแผนการ ผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใช้ โดยในระยะสั้น สนับสนุนให้เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อ ไร่ส่วนในระยะยาว เพื่อลดผลกระทบจากการนำเข้าที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ควรมีมาตรการจูงใจส่งเสริมให้เกษตรกรมีการ ปลูกพริกไทยอินทรีย์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและฟื้นฟูสภาพดินที่เสื่อมโทรมจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมี รวมทั้งให้มี การบูรณาการร่วมกันระหว่างภาครัฐฯ ผู้ประกอบการและผู้ผลิต ทั้งในเรื่องของการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต การ แปรรูป ตลอดจนข่าวสารที่ทันสมัย คำถาม จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 2. ปัจจัยกำหนดอุปทานของพริกไทยมีอะไรบ้าง ? 3. รัฐบาลใช้มาตรการในการแก้ปัญหาการขาดแคลนพริกไทยอย่างไรและสอดคล้องกับมาตรการในการ แก้ปัญหาตามแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์อะไร ? (จงอธิบายมาพอเข้าใจ)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/1000