ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

ภาษาอื่นๆ มัธยมปลาย

วิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ4ข้อนี้หาคำตอบไม่เจอช่วยดูให้หน่อยค่ะ

4G 00:47 น. แบบฝึกทักษะ เรื่อง คลื่น.. : 4. การได้ยินเสียงของคนปกติขึ้นอยู่สิ่งใดของเสียง อย่างไร 5. เมื่อเราร้องเพลงในห้องน้ำ แล้วได้ยินเสียงตัวเองก้องกังวาน มากกว่าการร้องเพลงในที่โล่งแจ้ง เนื่องจาก สาเหตุใด 6. คนกลุ่มหนึ่งยืนรอข้ามถนน ขณะนั้นมีรถยนต์เร่งความเร็วแล่นผ่าน โดยบีบแตรเสียงยาวเป็นการเตือน คนที่ ยืนรอข้ามถนนจะได้ยินเสียงแตรรถมีความถี่เปลี่ยนไปอย่างไรในขณะรถวิ่งเข้าหา และออกจากคนกลุ่มนี้ 7. ถ้าเราจำเป็นต้องอยู่ในพื้นที่ที่มีระดับเสียงมากเป็นเวลานาน เรามีวิธีใดที่จะป้องกันเสียง

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

สอบถามวิชาวิทยศาษตร์เรื่องระบบประสาทค่ะ

Keek. ตอนที่ 2 คำชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่ความสัมพันธ์โดยนำอักษรช่องขวามือมาใส่ในช่องซ้ายมือให้ถูกต้อง ก. มีรูปร่างเป็นก้อนรูปไข่ ประกอบด้วยเซลล์ประสาทจำนวนมาก ข. ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย 1. พอนส์ 2. เมดัลลา ออบลองกาตา 3. เซรีเบลลัม ค. ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย ความดันโลหิตความหิว ความอิ่ม 4. ไฮโพทาลามัส การนอนหลับ 5. เซรีบรัม ง. การถ่ายทอดสัญญาณไปยังสมองต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับกระแสประสาท 6. ทาลามัส จ. ควบคุมเกี่ยวกับการมองเห็น การได้ยิน และการสัมผัส 7. สมองส่วนกลาง ฉ. ศูนย์กลางในการประสานงานทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกา 8. สมอง ซ. ควบคุมการทำงานและกิจกรรมต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น การพูด 9. ไขสันหลัง มองเห็น การเรียนรู้ 10. ระบบประสาทส่วนกลาง ซ. ควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อให้ทำงานประสานกัน ณ. ควบคุมการทำงานของอวัยวะภายใน เช่น การหายใจ การหมุน โลหิต การไอ ญ. ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าเกี่ยวกับการหล การยิ้ม การยักคิ้ว ตอนที่ 3 คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกับความสำคัญและวิธีดูแลรักษาระบบประสาท โดยใส่เครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูก และใส่เครื่องหมาย * หน้าข้อความที่ผิด 1. ระบบประสาทของคนทำงานประสานกันระหว่างสมองและเซลล์ประสาท 2. การทานอาหารประเภททอด หรือไขมันมากๆ จะทำให้ประสาทดมกลิ่นทำงานได้ดีขึ้น 3. คนที่ทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ควรรับประทานผักและผลไม้ในปริมาณมากขึ้นทุกวัน 4. การนอนหลับเป็นการพักผ่อนสมองที่ดีที่สุด 5. การฝึกสมาธิบ่อย ๆ ทำให้สมองทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6. เราควรตรวจสุขภาพสัปดาห์ละ 1 ครั้ง 7. เมื่อมีอาการผิดปกติในร่างกายควรไปพบแพทย์ทันที 8. ความเครียดไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย 9. หลีกเลี่ยงการใช้สายตากับเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ๆ 10. การออกกำลังกายสม่ำเสมอไม่ส่งผลต่อการทำงานของระบบประสาท

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ เราไม่เข้าใจ

2. ให้นักเรียนศึกษาตารางสารมลพิษ แหล่งกำเนิด และผลกระทบในหนังสือเรียน พร้อมเติมข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง สารมลพิษ แหล่งกำเนิด ผลกระทบ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ - การเผาไหม้เชื้อเพลิงใน เครื่องยนต์ การเผาขยะ - ไฟป่า แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ระคายเคืองตา ผิวหนัง และหาก สูดดมเข้าไปมาก อาจทำให้ระบบ การหายใจผิดปกติ และเป็นสาเหตุ ของการเกิดฝนกรด ระคายเคืองต่อระบบทางเดิน - การเผาไหม้เชื้อเพลิงใน เครื่องยนต์ หายใจ และเป็นสาเหตุของการเกิด ฝนกรด - การเผาไหม้สารอินทรีย์ในเตาเผา - ไฟป่า - การทำปฏิกิริยาเคมีของ สารอินทรีย์ระเหยง่าย กับ ออกไซด์ของไนโตรเจนในอากาศ หากสะสมในปริมาณมาก ระบบ ประสาทจะถูกทำลาย ผู้ป่วยจะ อ่อนเพลีย ซึมเศร้า มือเท้าไม่มี เรี่ยวแรง ตาพร่ามัว สูญเสียการได้ ยิน พิการ และรุนแรงถึงขั้น เสียชีวิต ตะกั่ว ทำลายระบบประสาท มีผลต่อ พัฒนาการทางสมองของทารก เป็นสาเหตุของโรคโลหิตจาง และ โรคไต ฝุ่นละออง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ เราไม่เข้าใจ สอบถามผู้รู้ค่ะ

2. ให้นักเรียนศึกษาตารางสารมลพิษ แหล่งกำเนิด และผลกระทบในหนังสือเรียน พร้อมเติมข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง สารมลพิษ แหล่งกำเนิด ผลกระทบ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ - การเผาไหม้เชื้อเพลิงใน เครื่องยนต์ การเผาขยะ - ไฟป่า แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ระคายเคืองตา ผิวหนัง และหาก สูดดมเข้าไปมาก อาจทำให้ระบบ การหายใจผิดปกติ และเป็นสาเหตุ ของการเกิดฝนกรด ระคายเคืองต่อระบบทางเดิน - การเผาไหม้เชื้อเพลิงใน เครื่องยนต์ หายใจ และเป็นสาเหตุของการเกิด ฝนกรด - การเผาไหม้สารอินทรีย์ในเตาเผา - ไฟป่า - การทำปฏิกิริยาเคมีของ สารอินทรีย์ระเหยง่าย กับ ออกไซด์ของไนโตรเจนในอากาศ หากสะสมในปริมาณมาก ระบบ ประสาทจะถูกทำลาย ผู้ป่วยจะ อ่อนเพลีย ซึมเศร้า มือเท้าไม่มี เรี่ยวแรง ตาพร่ามัว สูญเสียการได้ ยิน พิการ และรุนแรงถึงขั้น เสียชีวิต ตะกั่ว ทำลายระบบประสาท มีผลต่อ พัฒนาการทางสมองของทารก เป็นสาเหตุของโรคโลหิตจาง และ โรคไต ฝุ่นละออง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

มีใครรู้คำตอบไกมคะ

เกกรเณพ 0 แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 12 (2? | คําหม ., ขณะเกิดคลื่นเสียงในอากาศ การกระจัดของอนุภาคและความค้นของอากาศมีความสัมพันธ์กัน อย่างไร ขณะเกิดคลื่นเสียงในอากาศ ทั้งการกระจัดของอนุภาคและความดันของอากาศมีการเปลี่ยนแปลง ปริมาณใดมีผลต่อความดังของเสียง (การได้ยิน) มากกว่ากัน อัตราเร็วเสียงในตัวกลางต่าง ๆ กับสถานะของตัวกลางมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ การประมาณว่าฟ้าแลบอยู่ห่างเท่าใด โดยการนับเวลาเป็นวินาทีตั้งแต่เห็นฟ้าแลบจนได้ยินเสียง ฟ้าร้อง แล้วหารด้วย 3 ผลที่ได้คือระยะทางที่มีหน่วยกิโลเมตร วิธีการนี้ว่าเป็นไปได้เพียงใด ให้ เหตุผลประกอบ ถ้าปรบมือหลังห้องประชุมที่มีความยาว 30 เมตร จะได้ยินเสียงสะท้อนกลับหรือไม่ 6. เครื่องตนตรีชนิดเดียวกัน เมือล่นโน้ตตัวเดียวกันมีคุณภาพเสียงต่างกันหรือไม่ เพราะเหตุโด 10, ถ้าระดับสูงดําของเสียงหนึ่งเพิ่มชื้น ปริมาณใดต่อไปนี้มีการเปลี่ยนแปลง ก. ความถี่ ข. ความยาวคลื่น ค. อัตราเร็วของคลื่น ง. แอมหลิจูดของคลื่น ยกตัวอย่างเสียงรบกวนจากบ้านใกล้เคียง และจากภายในบ้าน ถ้าต้องการหาความถี่ของเสียงจากล้อมเสียงอันหนึ่ง โดยใช้ปรากฏการณ์การสั้นพ้องของเสียง จะมีวิธีการทดลองอย่างไร ขณะที่เกิดการสั่นพ้อง ความค้นของอากาศ ณ ตําแหน่งต่าง ๆ ของหลอดเรโซแนนย์เป็นอย่างไร เมื่อเทียบกับความตันปกติ. นางสาว ก ยืนกับที่และถือแหล่งกําเนิดเสียงที่ให้เสียงที่ได้ยินซึ่งมีความถี่ /: ส่วน นาย ข กําลัง เคลื่อนที่ออกด้วยอัตราเร็วคงตัว ดังรูป 1,=530 ฟะ รูป ประกอบคําถามข้อ 11 ก และ ข จะได้ยินเสียงที่มีความถี่เท่ากันหรือไม่ เพราะเหตุใด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0