ชั้นปี

ชนิดของคำถาม

วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มีใครพอช่วยได้มั้ยคะข้อ18-21(thermodynamics)

1-18 มาโนมิเตอร์บรรจุของเหลวที่มีความถ่วงจำเพาะ 0.8 ถ้าความ แตกต่างของระดับของเหลวในขาทั้งสองของมาโนมิเตอร์ เท่ากับ 300 mm จงหาความดันแตกต่างระหว่างจุดทั้งสอง และถ้าหากพิจารณาที่ความดันแตกต่างเท่ากัน รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-17 แต่เปลี่ยน ของเหลวเป็นชนิดที่มีความหนาแน่น 13,600 kg/m จงหาว่าระดับของเหลวในขาทั้งสองของมาโนมิเตอร์ จะต่างกันเท่าใด (ตอบ 2.35 kPa, 17.6 mm) 1-19 มาโนมิเตอร์ที่ใช้สารบรรจุเป็นปรอท ( = 13,600 kg/m) ได้รับการต่อเข้ากับท่ออากาศดังแสดงในรูป (หน้า 29) เพื่อวัดความดันภายในท่อ ถ้าความดันบรรยากาศในบริเวณนั้นเป็น 100 kPa (ก) จงพิจารณา ว่าความดันในท่อว่าสูงกว่าหรือต่ำกว่าความดันบรรยากาศ (ข) จงคำนวณหาความดันสัมบูรณ์ในท่อ (ตอบ 102.0 kPa) แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับเทอร์โมไดนามิกส์ 29 - ความดันเกจของอากาศในถังเป็น 80 kPa ดังแสดงในรูป จงหาความสูง 1 ของปรอทในมาโนมิเตอร์ ตอบ 58.2 cm) AIR P P= ? h = 15 mm รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-19 A = 35 cm²81 80 kPa Air 30 cm 75 cm Water h รูปประกอบแบบฝึกหัดข้อที่ 1-20 Oil SG=0.72 -Mercury SG= 13.6 (ผิวของชั้นน้ำมันเปิดออกสู่ - ภาชนะบรรจุของเหลวหลายชนิดต่ออยู่กับหลอดรูปตัวยูดังแสดงในรูป บรรยากาศ) จงใช้ข้อมูลที่กำหนดในการคำนวณหาความดันเกจที่จุด A รวมทั้งพิจารณาว่าหากเปลี่ยน ของเหลวในภาชนะเป็นปรอท ความสูงของปรอทจะเป็นเท่าใดที่ความดันเท่ากัน (ตอบ 0.471 kPa และ 0.353 cm)

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค้าบบบ

ใบกิจกรรมที่ 2.3 เรื่อง ฝึกทักษะการคำนวณ คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่จาก A ไป B และ C ตามลำดับ โดยมีแนวการเคลื่อนที่ตามแนวเส้นทึบ ถ้าใช้เวลาในการเคลื่อนที่จาก A ไป B และ B ไป C เท่ากับ 3 วินาที และ 8 วินาที ตามลำดับ เหนือ 5.6 เมตร B C 4 เมตร 3 เมตร 5 เมตร 4.2 เมตร A 9. จงหา อัตราเร็วเฉลี่ยและความเร็วเฉลี่ย จาก A ไป B 10. จงหา อัตราเร็วเฉลี่ยและความเร็วเฉลี่ย จาก B ไป C 11. จงหา อัตราเร็วเฉลี่ยและความเร็วเฉลี่ย จาก A ไป C ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการเคลื่อนที่ ชุดที่ 2 อัตราเร็วและความเร็ว

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
PromotionBanner
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ พยายามทำเเล้วจริงๆ เรื่องนี้ครูไม่ได้สอนเลยค่ะ ให้งานมาเลย งงมากๆเลยค่ะ ช่วยหน่อยนะคะ🙏

4.2 สูตรการคำนวณ : มี 2 สูตร ดังนี้ 1 1 1 1 หรือ m = 0 " อย่าลืมวิธีการแทนค่าเครื่องหมาย + / - + = 5 - f ใบงานที่ 2.1 เรื่อง การคำนวณเรื่องกระจก คำชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีการคำนวณหาค่าต่าง ๆ ในเรื่องกระจก 1. วางวัตถุหน้ากระจกชนิดหนึ่งเป็นระยะ 50 เซนติเมตร ทำให้เกิดภาพจริงที่ระยะห่างจากระจก 100 เซนติเมตร จงหาความยาวโฟกัสของกระจก และชนิดของกระจกนี้ วิธีทำ 2. วางวัตถุไว้หน้ากระจกโค้งนูนบานหนึ่ง ทำให้เกิดภาพที่ระยะ 100 เซนติเมตร ภาพดังกล่าวมีกำลังขยาย 0.4 เท่า จงหาระยะวัตถุที่วางไว้หน้ากระจกโค้งนี้ วิธีทำ 3. เลนส์นูนความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ต้องวางวัตถุห่างจากเลนส์นูนนี้เท่าใด จึงเกิดภาพจริง กำลังขยาย 2 เท่า วิธีทำ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ พยายามทำเเล้วจริงๆ เรื่องนี้ครูไม่ได้สอนเลยค่ะ ให้งานมาเลย งงมากๆเลยค่ะ ช่วยหน่อยนะคะ🙏

ใบงานที่ 2.3 เรื่อง การคำนวณเรื่องกระจกและเลนส์ คำชี้แจง ให้นักเรียนใช้ความรู้ที่เรียนมาตอบคำถาม 1.ถ้าวางวัตถุห่างจากเลนส์ 20 เซนติเมตร จะเกิดภาพเสมือนที่ระยะ 30 เซนติเมตร เลนส์อันนี้มีรัศมีความโค้งของ เลนส์ของเลนส์เท่าไร 2. ตุ๊กตาตัวหนึ่งวางอยู่หน้ากระจกนูนความยาวโฟกัส 30 เซนติเมตร ห่างเป็นระยะ 45 เซนติเมตร อยากทราบ ว่าจะเกิดภาพชนิดใดและที่ระยะห่างจากกระจกเท่าไร 3. แตงโมขับรถอยู่ในซอยแคบ ๆ พอถึงทางแยกมีกระจกนูนรัศมีความโค้ง 60 เซนติเมตร ติดอยู่ตรงทางแยก เพื่อจะให้มองเห็นรถที่กำลังขับมาอีกทาง ขณะที่แตงโมจะเลี้ยวมองเห็นรถอีกคันที่กำลังขับมาในกระจกนูนมีขนาด ภาพที่อยู่ในกระจกเท่ากับ 15 เซนติเมตร อยากทราบว่ารถคันที่ขับมาอยู่ห่างจากกระจกเท่าไร (กำหนดให้ความสูง รถเท่ากับ 1.5 เมตร) 4. ทดลองใช้แว่นขยายส่องดูมดตัวหนึ่งมีขนาด 1 มิลลิเมตร ถ้าเห็นภาพมดขนาด 1 เซนติเมตร อยากทราบว่า แว่นขยายมีกำลังขยายเท่าไร

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ ทำได้เเค่บางข้อเองค่ะ🙏

4.2 สูตรการคำนวณ : มี 2 สูตร ดังนี้ 1 1 1 1 หรือ m = 0 " อย่าลืมวิธีการแทนค่าเครื่องหมาย + / - + = 5 - f ใบงานที่ 2.1 เรื่อง การคำนวณเรื่องกระจก คำชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีการคำนวณหาค่าต่าง ๆ ในเรื่องกระจก 1. วางวัตถุหน้ากระจกชนิดหนึ่งเป็นระยะ 50 เซนติเมตร ทำให้เกิดภาพจริงที่ระยะห่างจากระจก 100 เซนติเมตร จงหาความยาวโฟกัสของกระจก และชนิดของกระจกนี้ วิธีทำ 2. วางวัตถุไว้หน้ากระจกโค้งนูนบานหนึ่ง ทำให้เกิดภาพที่ระยะ 100 เซนติเมตร ภาพดังกล่าวมีกำลังขยาย 0.4 เท่า จงหาระยะวัตถุที่วางไว้หน้ากระจกโค้งนี้ วิธีทำ 3. เลนส์นูนความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ต้องวางวัตถุห่างจากเลนส์นูนนี้เท่าใด จึงเกิดภาพจริง กำลังขยาย 2 เท่า วิธีทำ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
1/2